1 / 95

สื่อการเรียนการสอน 2 ภาษา วิชาเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต

วิทยาลัยการอาชีพชุมแพ. สื่อการเรียนการสอน 2 ภาษา วิชาเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต. ประกอบการ เรียน วิชาเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต เรื่อง อินเตอร์เน็ต (Internet) สอนโดย .. ครู แจ่ม จันทร์ หอม ระหัส. ครูผู้สอน. ครู แจ่ม จันทร์ หอม ระหัส ป . ตรี คบ . คอมพิวเตอร์ศึกษา ป . โท MBA.IT.

Download Presentation

สื่อการเรียนการสอน 2 ภาษา วิชาเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิทยาลัยการอาชีพชุมแพวิทยาลัยการอาชีพชุมแพ สื่อการเรียนการสอน 2 ภาษา วิชาเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต ประกอบการเรียนวิชาเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเรื่องอินเตอร์เน็ต (Internet)สอนโดย..ครูแจ่มจันทร์ หอมระหัส

  2. ครูผู้สอน ครูแจ่มจันทร์ หอมระหัส ป.ตรี คบ.คอมพิวเตอร์ศึกษา ป.โท MBA.IT ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  3. อินเทอร์เน็ต (Internet) ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  4. อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคำว่าInter Connection Network หมายถึงเครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  5. อินเทอร์เน็ตทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องอินเทอร์เน็ตทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ทุกระบบ สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  6. ประวัติและความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตประวัติและความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต พัฒนามาจากโครงการวิจัยทางการทหารของกระทรวงกลาโหมของประเทศสหรัฐอเมริกาคือ Advanced Research Projects Agency (ARPA) ในปีค.ศ. 1969 ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  7. อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ใช้อินเทอร์เน็ตครั้งแรกในปีพ.ศ. 2530 ที่มหาวิยาลัยสงขลานครินทร์โดยได้รับความช่วยเหลือจากโครงการ IDP (The International Development Plan) เพื่อให้สามารถติต่อสื่อสารทางอีเมลกับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลียได้ ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  8. พ.ศ. 2533 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของสถาบัน การศึกษาของรัฐ โดยมีชื่อว่า เครือข่ายไทยสาร(Thai Social/Scientific Academic and Research Network : ThaiSARN) ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  9. ThaiSarnในระยะแรก • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) • มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  10. ในปีพ.ศ. 2538 ได้มีการบริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ขึ้นโดยบริษัทอินเทอร์เน็ตไทยแลนด์(Internet Thailand) เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(Internet Service Provider: ISP) เป็นบริษัทแรก ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  11. ระบบอินเทอร์เน็ตของประเทศไทยระบบอินเทอร์เน็ตของประเทศไทย ช่องสัญญาณการเชื่อมต่อภายในประเทศ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสามารถเลือกเช่าช่องสัญญาณได้โดยเสรี ทั้งจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทศท.) การสื่อสารแห่งประเทศไทย หรือ กสท. (Communication Authority of Thailand: CAT) เทเลคอมเอเชีย (TelecomAsia) และ ดาต้าเน็ต(DataNet) โดยวงจรของทุกราย จะเชื่อมต่อกับจุดแลกเปลี่ยนสัญญาณภายในประเทศ เพื่อความรวดเร็วในการแลกเปลี่ยนข้อมูล นั่นคือ การติดต่อสื่อสารระหว่างคู่สื่อสารในประเทศไทย สามารถทำได้สะดวก ไม่ว่าคู่สื่อสารนั้น จะใช้บริการของ ISP รายใดก็ตาม ทั้งนี้จุดแลกเปลี่ยนในปัจจุบันได้แก่ IIR (Internet Information Research) ของเนคเทคและ NIX (National Internet Exchange) ของการสื่อสาร แห่งประเทศไทย ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  12. ช่องสัญญาณการเชื่อมต่อระหว่างประเทศช่องสัญญาณการเชื่อมต่อระหว่างประเทศ การให้บริการอินเทอร์เน็ตจะต้องผ่านการสื่อสาร แห่งประเทศไทยเท่านั้น เนื่องจากกฎหมายปัจจุบันยังไม่อนุญาตให้ทำการส่งข้อมูล เข้า-ออก ของประเทศไทยโดยปราศจากการควบคุมของ กสท. โดย ISP จะเชื่อมสัญญาณเข้ากับ IIG (International Internet Gateway) ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  13. การทำงานของอินเตอร์เน็ตการทำงานของอินเตอร์เน็ต • การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะมีโปรโตคอล (Protocol) ซึ่งเป็นระเบียบวิธีการสื่อสารที่เป็นมาตรฐานของการเชื่อมต่อกำหนดไว้ โปรโตคอลที่เป็นมาตรฐานสำหรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  14. เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะต้องมีหมายเลขประจำเครื่อง ที่เรียกว่า IP Address เพื่อเอาไว้อ้างอิงหรือติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในเครือข่าย ซึ่ง IP ในที่นี้ก็คือ Internet Protocol ตัวเดียวกับใน TCP/IP นั่นเอง IP address ถูกจัดเป็นตัวเลขชุดหนึ่งขนาด 32 บิต ใน 1 ชุดนี้จะมีตัวเลขถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8 บิตเท่าๆ กัน เวลาเขียนก็แปลงให้เป็นเลขฐานสิบก่อนเพื่อความง่ายแล้วเขียนโดยคั่นแต่ละส่วนด้วยจุด (.) ดังนั้นในตัวเลขแต่ละส่วนนี้จึงมีค่าได้ไม่เกิน 256 คือ ตั้งแต่ 0 จนถึง 255 เท่านั้น ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  15. โดเมนเนม (Domain name system : DNS เนื่องจากการติดต่อสื่อสารกันกันในระบบอินเทอร์เน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP เพื่อสื่อสารกัน โดยจะต้องมี IP address ในการอ้างอิงเสมอ แต่ IP address นี้ถึงแม้จะจัดแบ่งเป็นส่วนๆ แล้วก็ยังมีอุปสรรคในการที่ต้องจดจำ ถ้าเครื่องที่อยู่ในเครือข่ายมีจำนวนมากขึ้น การจดจำหมายเลข IP ดูจะเป็นเรื่องยาก และอาจสับสนจำผิดได้ แนวทางแก้ปัญหาคือการตั้งชื่อหรือตัวอักษรขึ้นมาแทนที่ IP address ซึ่งสะดวกในการจดจำมากกว่า เช่น IP address คือ 203.183.233.6 แทนที่ด้วยชื่อ dusit.ac.th ผู้ใช้งานสามารถ จดจำชื่อ dusit.ac.th ได้ง่ายกว่า การจำตัวเลข ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  16. โดเมนที่ได้รับความนิยมกันทั่วโลก ที่ถือว่าเป็นโดเมนสากล มีดังนี้ คือ .com ย่อมาจาก commercial สำหรับธุรกิจ .edu ย่อมาจาก education สำหรับการศึกษา .int ย่อมาจาก International Organization สำหรับองค์กร นานาชาติ .org ย่อมาจาก Organization สำหรับหน่วยงานที่ไม่แสวงหา กำไร .net ย่อมาจาก Network สำหรับหน่วยงานที่มีเครือข่ายของตนเอง และทำธุรกิจด้านเครือข่าย ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  17. การขอจดทะเบียนโดเมน การขอจดทะเบียนให้เป็นโดเมนสากล (.com .edu .int .org .net ) ต้องขอจดทะเบียนกับ www.networksolution.com ซึ่งเดิม คือ www.internic.netการขอจดทะเบียนที่ลงท้ายด้วย .th (Thailand) ต้องจดทะเบียนกับ www.thnic.net ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  18. โดเมนเนมที่ลงท้าย ด้วย .thประกอบด้วย .ac.th ย่อมาจาก Academic Thailand สำหรับสถานศึกษาในประเทศไทย .co.th ย่อมาจาก Company Thailand สำหรับบริษัทที่ทำธุรกิจในประเทศไทย .go.th ย่อมาจาก Government Thailand สำหรับหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล .net.th ย่อมาจาก Network Thailand สำหรับบริษัทที่ทำธุรกิจด้านเครือข่าย .or.th ย่อมาจาก Organization Thailand สำหรับหน่วยงานที่ไม่แสวงหา กำไร .in.th ย่อมาจาก Individual Thailand สำหรับของบุคคลทั่วๆ ไป ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  19. สิ่งที่ต้องมีถ้าต้องการสิ่งที่ต้องมีถ้าต้องการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตรายบุคคล ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  20. 1. 2. 4. ISP 3. ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  21. คอมพิวเตอร์ Analog ISP Digital โมเด็ม ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  22. โมเด็ม(Modem) อุปกรณ์ที่ใช้ในการแปลงสัญญาณDigital เป็นAnalog และแปลงกลับจากAnalog เป็น Digital ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  23. Internal MODEM External MODEM PCMCIA MODEM ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  24. ความเร็วของโมเด็ม • หน่วยเป็นบิต/วินาที(bps) • หมายถึงใน 1 วินาทีมีการส่งข้อมูลกี่บิต ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  25. ความเร็วของโมเด็มเมื่อใช้กับโทรศัพท์บ้าน ? 56 kbps ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  26. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(Internet Service Provider) ? ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  27. Internet Thailand • A-net Internet • Internet KSC • Loxinfo Internet • Asia Access • Asia Infonet • CS Internet • Data Line Thai • SamartCybernet • Siam Global Access • JI-Net ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  28. รูปแบบการให้บริการของISPรูปแบบการให้บริการของISP 1. อินเทอร์เน็ตรายเดือน 2. อินเทอร์เน็ตสำเร็จรูป ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  29. เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แบบองค์กร ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  30. client client client server printer การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านระบบLAN Leased Line ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  31. คอมพิวเตอร์ในระบบอินเทอร์เน็ตรู้จักกันได้อย่างไรคอมพิวเตอร์ในระบบอินเทอร์เน็ตรู้จักกันได้อย่างไร 202.100.20.1 203.183.233.6 ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  32. การทำงานของอินเทอร์เน็ต มีโปรโตคอลที่เป็นมาตรฐานสำหรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  33. โปรโตคอล(Protocol) คือ กฏระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการติดต่อสื่อสารของคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  34. IP Address หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  35. โดเมนเนม(Domain name system :DNS) คือการตั้งชื่อหรือตัวอักษรขึ้นมาแทนที่IP address ซึ่งสะดวกในการจดจำมากกว่า ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  36. 61.19.120.36 www.chumphae.ac.th ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  37. DNS com edu gov uk th jp . . . ac intel . . . co go dusit CU ku . . . . . . it mail chumphae.ac.th ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  38. โดเมนที่มีตัวอักษร 3 ตัวเรียกว่าGeneric domain ส่วนมากใช้ในประเทศสหรัฐอเมริกา .com องค์กรธุรกิจ .eduสถาบันการศึกษา .govหน่วยงานราชการ ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  39. .intองค์กรระหว่างประเทศ .mil หน่วยงานทหาร .netผู้ให้บริการเครือข่าย .orgองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  40. โดเมนเนมในประเทศไทย .ac.thสถานศึกษาในประเทศไทย .co.th บริษัทที่ทำธุรกิจในประเทศไทย .go.thหน่วยงานต่างๆของรัฐบาล .net.thบริษัทที่ทำธุรกิจด้านเครือข่าย .or.thหน่วยงานที่ไม่แสวงหากำไร .in.thบุคคลทั่วๆไป ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  41. โดเมนเนมสายพันธุ์ไทย http://ขอนแก่น.th http://กรุงเทพ.th http://กระทรวงคมนาคม.th ในอนาคตจะมีhttp://กระทรวงคมนาคม.ไทย ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  42. อินเทอร์เน็ตไร้สาย(Wireless Internet) • ผ่านโทรศัพท์บ้านเคลื่อนที่ PCT • ผ่านโทรศัพท์มือถือ • ผ่านคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  43. ผ่านโทรศัพท์มือถือ ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  44. 1. WAP (Wireless Application Protocol) โปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้สายที่ใช้งานบนอินเทอร์เน็ตใช้ภาษาWML (Wireless Markup Language)ในการพัฒนาขึ้นมาแทนการใช้ภาษาHTML (Hypertext markup Language) ที่พบในwww ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  45. 2. GPRS (General Packet Radio Service) เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้โทรศัพท์มือถือสามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วสูง และสามารถส่งข้อมูลได้ในรูปแบบของมัลติมีเดีย ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  46. 3. โทรศัพท์ระบบ CDMA (Code Division Multiple Access) สามารถรองรับการสื่อสารไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดีโดยสามารถทำการรับส่งข้อมูลได้สูงสุด 153 Kbps และยังสนับสนุนการส่งข้อมูลระบบมัลติมีเดียได้ด้วย ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  47. ผ่านคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กผ่านคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  48. Wireless pcmcia card ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  49. จุดที่ให้บริการ Wireless LANในวิทยาลัยการอาชีพชุมแพ ใช้ได้ทุกตารางเมตรในรั้ว วก.ชุมแพ ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

  50. อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง 1. บริการอินเทอร์เน็ตผ่าน ISDN (Integrated Service Digital Network) 2. บริการอินเทอร์เน็ตผ่านเคเบิลโมเด็ม (Cable Modem) 3. บริการอินเทอร์เน็ตผ่านระบบโทรศัพท์ ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Loop) 4. บริการอินเตอร์เน็ตผ่านดาวเทียม (Satellite Internet) ผู้จัดทำ นางแจ่มจันทร์ หอมระหัส แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วก.ชุมแพ

More Related