270 likes | 490 Views
การประชุมชี้แจงการติดตามประเมินผล เพื่อคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบ โครงการสร้างเสริมคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็ก ให้ได้มาตรฐานอาชีวศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557 วันที่ 17 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมไม้ใหญ่รีสอร์ท จ.กำแพงเพชร. สถานศึกษาขนาดเล็ก. จำนวนผู้เรียน ไม่เกิน 1,200 คน ในปี พ.ศ. 2556
E N D
การประชุมชี้แจงการติดตามประเมินผลเพื่อคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบโครงการสร้างเสริมคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็กให้ได้มาตรฐานอาชีวศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557วันที่ 17 มิถุนายน 2557ณ ห้องประชุมไม้ใหญ่รีสอร์ท จ.กำแพงเพชร
สถานศึกษาขนาดเล็ก • จำนวนผู้เรียน ไม่เกิน 1,200คน ในปี พ.ศ.2556 จำนวน 229 แห่ง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 สถานศึกษาจำนวน 23 แห่ง ได้รับการประเมิน Best Practices มีความโดดเด่นในการพัฒนาสถานศึกษา ได้รับงบประมาณจัดสรรรอบ 2 ปีงบประมาณ 2556 แห่งละ 1,000,000 บาท(วทก.ปง, วทก.ตากฟ้า และ วก.บ้านตาก)
สถานศึกษาขนาดเล็ก กลุ่มที่ 2 สถานศึกษาจำนวน 206 แห่ง พิจารณาจัดสรรตามจำนวนนักเรียน ดังนี้ นักเรียน 1 - 150 คน ได้รับ 400,000 บาท นักเรียน 151 - 300 คน ได้รับ 300,000 บาท นักเรียนมากกว่า 300 – 1,200 คน ได้รับ 200,000 บาท
การติดตามประเมินผล • กลุ่มที่ 1 สถานศึกษาจำนวน 23 แห่ง สำนักติดตามและประเมินผลการอาชีวศึกษาจะติดตามภาคสนาม การรายงานด้วยระบบออนไลน์และให้จัดส่งเล่มรายงานผลการดำเนินงาน • กลุ่มที่ 2 สถานศึกษาจำนวน 206 แห่ง คณะกรรมการติดตามประเมินผลเพื่อคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบระดับภาคดำเนินการ โดยการติดตามประเมินผลภาคสนาม และการจัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วัตถุประสงค์ • มุ่งแก้ปัญหาความขาดแคลนที่จะเป็นอุปสรรคต่อการจัดการเรียน การสอน รวมทั้งระบบบริหารจัดการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา • พัฒนาปัจจัยสนับสนุนทางการศึกษาให้มีความพร้อมต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ • เร่งรัดการยกระดับคุณภาพการเรียนสอนให้มีมาตรฐานทัดเทียมกับสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดใหญ่ • เพื่อคัดเลือกสถานศึกษาที่มีความโดดเด่นในการพัฒนาสถานศึกษา (Best Practice)
ปฏิทินการติดตามและรายงานผลปฏิทินการติดตามและรายงานผล 30 มิ.ย. - 5 ก.ค. 57 คณะกรรมการดำเนินการ ตรวจประเมินภาคสนาม 5 ก.ค. 57 สรุปการประเมินภาคสนาม (วษท.นครสวรรค์) 15 - 25 ก.ค. 57 จัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับภาค 31 ก.ค.57 ส่งผลการประเมินไป สำนักติดตามฯ 18 - 19 ส.ค.57 จัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับชาติ มอบโล่รางวัล
การตรวจประเมินภาคสนามการตรวจประเมินภาคสนาม สายที่ 1 ผอ.สถิตย์ ปริปุณณากร ประธาน ได้แก่ จ.พะเยา จ.ลำพูน จ.น่าน จ.อุตรดิตถ์ จ.สุโขทัย และ จ.พิจิตร สายที่ 2 ผอ.เสรี เสียงวัฒนะ ประธาน ได้แก่ จ.พิษณุโลก จ.เพชรบูรณ์ จ.กำแพงเพชร จ.นครสวรรค์ จ.อุทัยธานี และ จ.ตาก สายที่ 3 ผอ.ไพฑูรย์ ตัณทานนท์ ประธาน ได้แก่ จ.แม่ฮ่องสอน จ.เชียงใหม่ จ.เชียงราย จ.แพร่ และ จ.ลำปาง
กรอบการดำเนินโครงการ • กิจกรรมหลักที่ 1 กิจกรรมที่ สอศ. กำหนด ได้แก่ 1) การเยี่ยมบ้านนักเรียนและจัดระบบดูแลนักเรียนรายบุคคล 2) การพัฒนา /การกำหนดโครงสร้างการประกันคุณภาพ ภายในและภายนอก 3) การพัฒนาระบบประเมินผลแนวใหม่
กรอบการดำเนินโครงการ (ต่อ) • กิจกรรมหลักที่ 2 กิจกรรมพัฒนาสถานศึกษาที่สถานศึกษากำหนดเอง เพื่อพัฒนาผู้เรียน ครู สถานศึกษา และการบริหารจัดการ ให้มีคุณภาพและเป็นระบบโดยให้สอดคล้องกับ - นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 4 มิติ - มีนวัตกรรมการพัฒนาและเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ชัดเจน
กรอบการดำเนินโครงการ (ต่อ) นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 4 มิติ ประกอบด้วย 1. การสร้างโอกาสทางการศึกษา 2. การยกระดับคุณภาพผู้เรียน 3. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 4. ความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษา
โครงสร้างการติดตามประเมินผลเพื่อคัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบโครงการสร้างเสริมคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็กให้ได้มาตรฐานอาชีวศึกษาประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 สถานศึกษาขนาดเล็ก จำนวน 206 แห่ง คณะกรมการระดับภาค ประเมิน 5 องค์ประกอบ ประเมินโดยกรรมการภาค สถานศึกษาขนาดเล็ก ผ่านการประเมินจัดเรียงตามลำดับแต่ละภาคๆ ละ 10 แห่ง จัดแสดงผลงาน/นำเสนอ Best Practice แต่ละสถานศึกษา สถานศึกษาขนาดเล็ก ผ่านการประเมินระดับคุณภาพ ดีเด่น ภาคละ 3 แห่ง ประเมินโดยกรรมการภาค จัดแสดงผลงาน/นำเสนอ Best Practice จัดงานวันสถาปนา สอศ. ประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ สถานศึกษาต้นแบบขนาดเล็กได้มาตรฐานอาชีวศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
องค์ประกอบคะแนนในการติดตามประเมินผลภาคสนามองค์ประกอบคะแนนในการติดตามประเมินผลภาคสนาม • องค์ประกอบที่ 1 : การดำเนินงานการเยี่ยมบ้านนักเรียนและการ จัดระบบดูแลนักเรียนรายบุคคล (25 คะแนน) • องค์ประกอบที่ 2 : การดำเนินงานการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพ สถานศึกษา (25 คะแนน) • องค์ประกอบที่ 3 : การประเมินผลแนวใหม่ (ประเมินผลตามสภาพจริง :Authentic Assessment) (25 คะแนน) • องค์ประกอบที่ 4 : การดำเนินงานพัฒนาสถานศึกษาที่สถานศึกษากำหนดเอง (15 คะแนน) • องค์ประกอบที่ 5 : การเพิ่มปริมาณผู้เรียน (10 คะแนน)
เกณฑ์การพิจารณา ตัวชี้วัดแต่ละองค์ประกอบ มีเกณฑ์การพิจารณา 3 ด้าน 1. ด้านความตระหนัก 2. ด้านความพยายาม 3. ด้านผลสัมฤทธิ์ ผลงานที่รับการประเมินในปีงบประมาณ 2557 ภาคเรียนที่ 2/2556 และภาคเรียนที่ 1/2557
เกณฑ์ความสำเร็จระดับคุณภาพเกณฑ์ความสำเร็จระดับคุณภาพ ระดับดีเด่น มีคะแนนมากกว่าร้อยละ 90 ระดับดีมาก มีคะแนนมากกว่าร้อยละ 80 ระดับดี มีคะแนนมากกว่าร้อยละ 70 ระดับพอใช้ มีคะแนนมากกว่าร้อยละ 60 ระดับต้องปรับปรุง มีคะแนนตั้งแต่ร้อยละ 60 ลงมา
จำนวนสถานศึกษาขนาดเล็ก จำแนกตามภาค ดังนี้
กรอบพิจารณาสถานศึกษาต้นแบบกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กรอบพิจารณาสถานศึกษาต้นแบบกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • สถานศึกษาที่ได้รับการคัดเลือกภาคสนาม ภาคละ 10 แห่ง จัดทำข้อมูลสรุปผลงาน/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) - ความยาวไม่เกิน 3 – 5 หน้ากระดาษ A4 - พิมพ์ด้วยตัวอักษร TH SarabunPSK 16 - มีภาพประกอบพอสมควรจำนวน 7 ชุด - บันทึก file ข้อมูลลงแผ่น CD - จัดส่งตามเวลาที่คณะกรรมการฯ กำหนด
กรอบพิจารณาสถานศึกษาต้นแบบกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ต่อ) 2. กรอบการนำเสนอผลงาน/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ประกอบด้วย • ชื่อผลงาน • ชื่อสถานศึกษา จังหวัด ภาค • รายละเอียดผลงานที่จะนำเสนอ
รายการประเมินและค่าคะแนน Best Practices
รายละเอียดผลงานที่จะนำเสนอรายละเอียดผลงานที่จะนำเสนอ • ความสำคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นำเสนอ ระบุเหตุผล ความจำเป็น ปัญหาหรือความต้องการ แนวคิดหลักการสำคัญในการออกแบบ ผลงานหรือนวัตกรรมที่นำเสนอ • จุดประสงค์และเป้าหมายของการดำเนินงานระบุจุดประสงค์และเป้าหมายของการดำเนินงานอย่างชัดเจน สอดคล้องกับ ความต้องการจำเป็น • กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดำเนินงานระบุกระบวนการ หรือวิธีการในการผลิต การนำไปใช้ และการพัฒนาผลงาน โดยมีขั้นตอนต่อเนื่องสัมพันธ์กัน และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
รายละเอียดผลงานที่จะนำเสนอ (ต่อ) • ผลการดำเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับระบุผลสำเร็จของการดำเนินงานที่เกิดจากการนำไปใช้ คุณค่าของผลงาน/นวัตกรรม ที่ส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียน และประโยชน์ที่ได้รับจากผลงาน/นวัตกรรม • ปัจจัยความสำเร็จระบุบุคคล / หน่วยงาน / องค์กร หรือ วิธีการที่ช่วยให้งานประสบผลสำเร็จตามจุดประสงค์ การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพของผลงาน/นวัตกรรม • บทเรียนที่ได้รับ (Lesson Learned)/การนำไปใช้ประโยชน์ • การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับระบุข้อมูลที่ทำให้เห็นร่องรอยหลักฐานการเผยแพร่ผลงาน/ นวัตกรรม และการยกย่องชมเชย
ดาวน์โหลดคู่มือการประเมินดาวน์โหลดคู่มือการประเมิน สำนักติดตามและประเมินผลการอาชีวศึกษา www.Bme.vec.go.th
งานหนัก...............ก็แค่อดทนงานหนัก...............ก็แค่อดทน งานล้น..................ก็แค่สู้ไว้ ท้อแท้....................ก็หากำลังใจ เมื่อทุกอย่างผ่านไป หัวใจก็เบิกบาน
ยาชะลอความแก่ 10 เม็ด เม็ดที่ 1 หัดรักให้เป็น เม็ดที่ 2 หัดใจเย็นเข้าไว้ เม็ดที่ 3 หัดคลายวิตก เม็ดที่ 4 หัดพกอารมณ์ขัน เม็ดที่ 5 หมั่นบริหารกายจิต เม็ดที่ 6 หัดคิดทันสมัย เม็ดที่ 7 หัดรู้จักให้อภัย เม็ดที่ 8 หัดเข้าใจคนอื่น เม็ดที่ 9 อย่าฝืนความจริง เม็ดที่ 10 หัดสงบนิ่งให้เป็น