160 likes | 437 Views
การบูรณาการ ICT เข้าสู่ห้องเรียน. รูปแบบ Intel Teach. อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม วิทยากรอาวุโสโครงการ Intel Teach อาจารย์สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
E N D
การบูรณาการICTเข้าสู่ห้องเรียนการบูรณาการICTเข้าสู่ห้องเรียน รูปแบบIntel Teach อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม วิทยากรอาวุโสโครงการ Intel Teach อาจารย์สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่21การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่21 ทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่21 จะสอนอะไรในห้องเรียนแห่งอนาคต
สถานศึกษาแห่งศตวรรษที่20สถานศึกษาแห่งศตวรรษที่20 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การประเมินผล
สถานศึกษาแห่งศตวรรษที่21สถานศึกษาแห่งศตวรรษที่21 กลุ่มสาระหลัก ทักษะการคิดและการเรียนรู้ บริบทแห่งศตวรรษที่ 21 ทักษะชีวิต ทักษะการใช้ ICT การประเมินแห่งศตวรรษที่21
การสรรค์สร้างอย่างมีผลิตภาพ (High Productivity) ความรู้แห่งยุคดิจิทัล (Digital age Literacy) ทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่21 การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Communication) ทักษะการคิด (Inventive Thinking)
ทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่21ทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่21 • ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ • และทักษะการแก้ปัญหา • ทักษะการคิดเชิงสรรค์สร้างนวัตกรรม • ทักษะในการสื่อสาร • ทักษะในการทำงานแบบร่วมมือ • ทักษะในการใช้เทคโนโลยีและ • การจัดการสารสนเทศ • ทักษะชีวิต • ความเป็นผู้นำ • คุณธรรม จริยธรรม • ความโปร่งใส • ปรับตัวได้ดี • สรรค์สร้างงานอย่างมีคุณภาพ • มีมนุษย์สัมพันธ์ • มีเป้าหมาย • รับผิดชอบต่อส่วนรวม แก้ปัญหา ค้นคว้า นำเสนอ สื่อสาร พัฒนาตนเอง
บูรณาการทักษะในศตวรรษที่ 21 เข้าสู่ชั้นเรียน 1.ทักษะในศตวรรษที่ 21 ทักษะใดที่ปรากฏในชั้นเรียน 2. ห้องเรียนลักษณะใดที่คาดว่าน่าจะจัดการเรียนรู้ที่สนับสนุนและกระตุ้นให้เกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 3. ครูดำเนินกิจกรรมอย่างไร ใช้วิธีการเฉพาะแบบใดที่จะนำเอาทักษะในศตวรรษที่ 21 มาใช้ในชั้นเรียน 4. นักเรียนต้องทำกิจกรรมแบบใด
ทักษะการคิดขั้นสูงของบลูม(Bloom’s Taxonomy) การสร้างสรรค์ การประเมินค่า การวิเคราะห์ การประยุกต์ใช้ ความเข้าใจ การจำได้ ทักษะการคิดขั้นสูง คำถามกำหนดกรอบการเรียนรู้ ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน โครงสร้างที่เป็นประโยชน์เพื่อพัฒนาวัตถุประสงค์การเรียนรู้และจัดหมวดหมู่คำถาม (Based on Pohl, 2000, Learning to Think, Thinking to Learn, p. 8)
รายการตรวจสอบสำหรับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ดีรายการตรวจสอบสำหรับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ดี วัตถุประสงค์เชื่อมโยงกับมาตรฐานเนื้อหาโดยตรง วัตถุประสงค์เขียนขึ้นสำหรับโครงงานที่เฉพาะเจาะจง –ไม่ใช่เขียนขึ้นสำหรับทุกโครงงาน บูรณาการการคิดขั้นสูง ระบุถึงทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
คำถามกำหนดกรอบการเรียนรู้(Curriculum Framing Question) • คำถามสร้างพลังคิด(Essential Question) • คำถามประจำหน่วย(Unit Question) • คำถามประจำบท(Content Question)
คำถามสร้างพลังคิด คำถามประจำหน่วย คำถามประจำบท
ความขัดแย้งก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างไรคำถามนี้เป็นคำถามประเภทใด ……………………………
การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) • รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลางสอดคล้องตามหลักสูตร • พัฒนาความรู้ตามเนื้อหาและทักษะโดยผ่านภาระงานที่กระตุ้นการสืบค้นของนักเรียน • สะท้อนการเรียนรู้ตามสภาพจริงผ่านทางชิ้นงานและการปฏิบัติงาน • การเรียนรู้ที่เน้นโครงงานเป็นสำคัญครอบคลุมเทคนิคการสอนที่สนับสนุนนักเรียนทุกคนไม่ว่าเป็นรูปแบบการเรียนรู้แบบใด • ในการเรียนรู้ที่เน้นโครงงานเป็นสำคัญ นักเรียนจะได้รับบทบาทและภาระงานที่มีประเด็นซึ่งต้องค้นคว้าและเชื่อมโยงกับปัญหาในโลกปัจจุบัน • การเรียนรู้ที่เน้นโครงงานเป็นสำคัญเกี่ยวพันกับข้อกังวลในโลกแห่งความเป็นจริง • การเรียนรู้ที่เน้นโครงงานเป็นสำคัญ ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูง และการแก้ปัญหา
ไม่ใช่ทุกหน่วยการเรียนรู้ที่ทำเป็นโครงงานได้ ดังนั้นต้องพิจารณา เพื่อเลือกหน่วยที่ดีที่สุดที่จะใช้การเรียนรู้ที่เน้นโครงงานเป็นสำคัญ แนวคิดในการทำโครงงาน เป้าหมายบทบาทสมมติบุคคลที่เกี่ยวข้องกิจกรรมผลผลิต/ผลงาน
การออกแบบแบบย้อนกลับ (Backward Design) จับคู่ร่วมคิด ระดมความคิดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสอน ทบทวน พัฒนางาน การประเมินตามสภาพจริง(Authentic Assessment) การออกแบบการสอน (Instructional Design)
เว็บไซต์ที่น่าสนใจของโครงการIntel Teach http:// www.teachtothefuture.net http:// www.intel.com/education/th http://educate.intel.com/th/AssessingProjects http://educate.intel.com/th/ProjectDesign http://krusorndee.net/group/unesco_ssru/