220 likes | 396 Views
การป้องกันและแก้ไขปัญหา ไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่. กรมควบคุมโรค วันที่ 9 มิถุนายน 2554. หัวข้อบรรยาย. สถานการณ์โรค - ไข้หวัดนก,ไข้หวัดใหญ่ ,โรคติดต่ออุบัติใหม่ แนวทาง การเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรค แนวทาง การซักซ้อมหรือฝึกซ้อม การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ในปี 2554
E N D
การป้องกันและแก้ไขปัญหาไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่การป้องกันและแก้ไขปัญหาไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ กรมควบคุมโรค วันที่ 9 มิถุนายน 2554
หัวข้อบรรยาย สถานการณ์โรค- ไข้หวัดนก,ไข้หวัดใหญ่ ,โรคติดต่ออุบัติใหม่ แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรค แนวทางการซักซ้อมหรือฝึกซ้อมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ในปี 2554 ความร่วมมือระหว่างกรมควบคุมโรค กรม ปภ. และ สำนักงาน ปภ. จังหวัด
178 / 146 ณ 3 มิถุนายน 54
การควบคุมไข้หวัดนก (H5N1) พ.ศ. 2547- 2554(พค) สาธารณสุข ปศุสัตว์ / ปภ. • สถานการณ์ / ความเสี่ยง • ทั่วโลก ปี 2547- พค 2554 ระบาดในสัตว์ปีกกว่า 65 ประเทศ ผู้ป่วย 553 ตาย 323 ใน 15 ประเทศ • ไทย ในสัตว์ปีกระบาดมาก ปี 2547 – 2549 มีผู้ป่วย 25 ตาย 17 ราย (ม.ค.2547- ส.ค.2549) • เชื้อทั่วโลก แพร่ระบาดโดยการเคลื่อนย้ายของสัตว์ปีกเลี้ยงและนกอพยพ ความเสี่ยงของไทยยังมีอยู่ คนอาจติดเชื้อป่วย ตาย • ผลงาน • ควบคุมโรคได้ดี ไม่มีผู้ป่วยกว่า 5 ปี ลดผลกระทบได้ • ระบบป้องกันการติดเชื้อใน รพ. ได้พัฒนาต่อเนื่อง • ระบบการเฝ้าระวัง สอบสวนโรค เข้มแข็งขึ้นมาก • มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการแบบบูรณาการทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ จนถึงชุมชน 5 5
เมษายน 2552โลกตระหนกไข้หวัดใหญ่ 2009 ระบาดไปแล้ว 178 cases confirmed to date in Indonesia, 146
2554 สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ - 1 มิถุนายน 54 2553
โรคติดต่ออุบัติใหม่ (EIDs) หมายถึง โรคติดต่อที่มีการเกิดโรคในมนุษย์เพิ่มสูงขึ้นมากในช่วงที่เพิ่งผ่านมา หรือมีแนวโน้มความเสี่ยงที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล้ • ประเทศไทย ได้พบการระบาดของไข้หวัดนกและไข้หวัดใหญ่ 2009 ดังที่กล่าวมาแล้ว • ยังพบการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่อื่นๆ อีก เช่น โรคชิคุนกุนยา , มือ เท้า ปาก , ไข้กาฬหลังแอ่น , เมลิออยโดสิส , ลีเจียนแนร์ , โบทูลิซึม และแอนแทรกซ์ ฯลฯ เป็นต้น • ซึ่งโรคต่างๆ เหล่านี้พบได้ในกลุ่มประชาชนทั่วไปหรืออาจเข้ามากับแรงงานต่างด้าว ทั้งในและต่างประเทศได้
ประเทศไทยควรสนใจโรคใดบ้างประเทศไทยควรสนใจโรคใดบ้าง • การเดินทาง ท่องเที่ยว • ธุรกิจ การค้าขาย • การรุกพื้นที่ป่า ขยายพื้นที่เกษตรกรรม • การอพยพย้ายถิ่น • การบริโภคสัตว์ป่า นำเข้าสัตว์ต่างถิ่น • อื่นๆ โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด ปัจจัย เสริมอื่นๆ ภาวะ โลกร้อน โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด สภาวะเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด • มาลาเรีย • ไข้เลือดออก • ไข้ปวดข้อยุงลาย (chik.) • ไข้สมองอักเสบ • โรคเท้าช้าง • วัณโรค • ไข้รากสาด • ไข้รากสาดน้อย และไข้รากสาดเทียม • อาหารเป็นพิษ • อุจจาระร่วง จากเชื้อต่างๆ • โรคฉี่หนู (leptospirosis) • โรคติดต่อ อื่นๆ • ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ • ไข้สมองอักเสบ นิปาห์ • อุจจาระร่วงอีโคไล O104 • ไข้หวัดนก • โรคซารส์ • กาฬโรค • ลิชมาเนีย • อาวุธชีวภาพ • วัณโรคดื้อยา • เชื้อแบคทีเรียดื้อยา • ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์ • โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อื่นๆ
โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด • มาลาเรีย • ไข้เลือดออก • ไข้ปวดข้อยุงลาย (chik.) • ไข้สมองอักเสบ • โรคเท้าช้าง • วัณโรค • ไข้รากสาด • ไข้รากสาดน้อย และไข้รากสาดเทียม • อาหารเป็นพิษ • อุจจาระร่วง จากเชื้อต่างๆ • โรคฉี่หนู (leptospirosis) • โรคติดต่อ อื่นๆ • ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ • ไข้สมองอักเสบ นิปาห์ • HFMD (EV71) • ไข้หวัดนก • โรคซารส์ • กาฬโรค • ลิชมาเนีย • อาวุธชีวภาพ • วัณโรคดื้อยา • เชื้อแบคทีเรียดื้อยา • ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์ • โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อื่นๆ
โรคติดต่อที่มีอยู่ โรคใดจะเพิ่ม/ลด โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคใดจะเกิด • มาลาเรีย • ไข้เลือดออก • ไข้ปวดข้อยุงลาย (chik.) • ไข้สมองอักเสบ • โรคเท้าช้าง • วัณโรค • ไข้รากสาด • ไข้รากสาดน้อย และไข้รากสาดเทียม • อาหารเป็นพิษ • อุจจาระร่วง จากเชื้อต่างๆ • โรคฉี่หนู (leptospirosis) • โรคติดต่อ อื่นๆ • ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ • ไข้สมองอักเสบ นิปาห์ • HFMD (EV71) • ไข้หวัดนก • โรคซารส์ • กาฬโรค • ลิชมาเนีย • อาวุธชีวภาพ • วัณโรคดื้อยา • เชื้อแบคทีเรียดื้อยา • ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์ • โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อื่นๆ
ปัญหาโรคระบาดอยู่ที่ไหน?ปัญหาโรคระบาดอยู่ที่ไหน? อยู่ตรงนี้ อยู่ที่คาด.....ไม่ ....... ถึง
ปัญหาโรคระบาดอยู่ที่ไหน?ปัญหาโรคระบาดอยู่ที่ไหน? • คาดไม่ถึง ...จึงหลุด • หลุดวินิจฉัย จึงหาไม่พบ • หลุดรักษา จึงไม่หาย • หลุดควบคุม จึงระบาด • หลุดป้องกัน จึงเกิดซ้ำ • หลุดเตรียมตัว จึงไม่พร้อม
แนวทางการป้องกันควบคุมโรคแนวทางการป้องกันควบคุมโรค ทำอย่างนี้จะดีไหม เพื่อไม่ให้หลุด • ค้นหาให้พบ (Early detection) • ดูแลรักษาให้ปลอดภัย (Effective management and infection control) • รีบเตือนภัย เร่งรายงาน (Early warning / reporting) • เตรียมตัวให้พร้อม (Preparedness planning) • นอกจากนี้ ยังมีอีกไหม?
ระบุความต้องการ การวางแผน การทบทวน วงจรการปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง การประเมินผล การฝึกอบรม/การศึกษา อุบัติการณ์
การระบุความต้องการ รูปแบบการจัดการการฝึกซ้อม (The exercise management model) ประเมินผลการฝึกซ้อม ประเมินความต้องการ บรรยายสรุปการฝึกซ้อมในเชิงลึก ออกแบบการฝึกซ้อม ดำเนินการการฝึกซ้อม
อภิปรายผล (Orientation) ฝึกปฏิบัติการตามบทบาทหน้าที่ (Functional Exercise) ชนิดบนโต๊ะ (Tabletop exercise) ฝึกปฏิบัติการเฉพาะด้าน (Drill) รูปแบบการฝึกซ้อมแผน
วัตถุประสงค์ การฝึกซ้อมแผนของจังหวัด กระบวนการฝึกซ้อมใกล้เคียงกับสถานการณ์จริงและปฏิบัติได้จริง ปรับปรุงแผนปฏิบัติการแบบบูรณาการให้สมบูรณ์มากขึ้น ปรับปรุงกลไกการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ เฝ้าระวังควบคุมโรค ประสาน สั่งการ สนับสนุน ทรัพยากร ดูแลรักษาผู้ป่วย ช่วยเหลือในชุมชน ทุกฝ่ายเข้าใจร่วมใจกัน ประสานสัมพันธ์ทำงานร่วมกันดั่งฟันเฟือง
สาธารณภัยตามแผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ภัยธรรมชาติ • อุทกภัย วาตภัย โคลนถล่ม • ภัยแล้ง • แผ่นดินไหว อาคารถล่ม • ไฟป่า หมอกควัน • อากาศหนาวจัด • โรคระบาดในพืช • โรคระบาดในสัตว์ • ภัยร้ายแรงจากโรคระบาดในคน • ภัยสึนามิ • ภัยจากน้ำมือมนุษย์ • อัคคีภัย • ภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย • อุบัติเหตุร้ายแรง
ความต้องการสนับสนุน • รูปแบบการฝึกซ้อมที่เหมาะสม ที่เป็นมาตรฐานและแนวทางเดียวกัน เช่น กลุ่มจังหวัด หรือ 3 หน่วยงาน • ควรร่วมมือระหว่าง ปภ กับ สธ จัดทำแผนและแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน และกำหนดเวลาที่ตรงกัน ให้มีการซ้อมแผนอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง • การตั้งงบประมาณในงานเฝ้าระวัง • การใช้กฎหมาย , พรบ สาธารณสุข