1 / 88

กองกำลังตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้

ศูนย์ปฏิบัติการตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้. กองกำลังตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้. หัวข้อการบรรยาย. แผนการตรวจติดตามประเมินผล การปฏิบัติตามนโยบาย ตร. และ ศชต. ประจำปี ๒๕๕๕. ความเป็นมา. ตร. กำหนดนโยบายและแนวทางการสร้างมาตรฐานของสถานีตำรวจ โดยกำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน

Download Presentation

กองกำลังตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศูนย์ปฏิบัติการตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ศูนย์ปฏิบัติการตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ กองกำลังตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้

  2. หัวข้อการบรรยาย แผนการตรวจติดตามประเมินผล การปฏิบัติตามนโยบาย ตร. และ ศชต. ประจำปี ๒๕๕๕

  3. ความเป็นมา • ตร. กำหนดนโยบายและแนวทางการสร้างมาตรฐานของสถานีตำรวจ • โดยกำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน • มีแนวทางการปฏิบัติ ๕ ด้าน คือ ๑. งานด้านการบริการทั่วไป ๒. งานด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา ๓. งานด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ๔. งานด้านการควบคุมและจัดการจราจร ๕. งานด้านการบริหารและพัฒนาบุคคลากร

  4. ความเป็นมา • ตร. ได้ดำเนินการตามแนวทางการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน • มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ดังนี้ โครงการระยะที่ ๑ มุ่งเน้นการให้บริการเพื่อประชาชนและ กิจกรรมตามที่ ตร. กำหนด โครงการระยะที่ ๒ มุ่งเน้นบริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวและ การพัฒนาทางกายภาพ โครงการระยะที่ ๓ มุ่งเน้นบริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว การบริการด้วยเต็มใจและใส่ใจ มุ่งผลสำฤทธิ์ของงาน

  5. ความเป็นมา • จุดเน้น โครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน(โรงพักเพื่อ • ประชาชน) ระยะที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘) • ๑. ด้านกระบวนการ (Process) • บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One Stop Service) คือ สะดวก (๑๕ %) • บริการด้วยความรวดเร็วมีขั้นตอน ระยะเวลาที่เป็นมาตรฐาน คือ • รวดเร็ว (Effective) (๒๐%) • บริการด้วยความเต็มใจและใส่ใจ(Service Mind) คือ ประทับใจ (๑๕%)

  6. ความเป็นมา • จุดเน้น โครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน(โรงพักเพื่อ • ประชาชน) ระยะที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘) • ๒. ด้านผลลัพธ์ • ผลของการบริการ • วัดผลสำเร็จของงานที่ตำรวจทำได้จากการให้บริการ คือ (Output) มีตัวชี้วัดผลสำเร็จ (๒๕%) • ผลลัพธ์ที่ทำได้ คือ ประชาชนมีความพึงพอใจ (Outcome) มีตัวชี้วัดความพึงพอใจของประชาชนเป็นศูนย์กลาง (๒๕%)

  7. ความเป็นมา • สรุปผลการดำเนินโครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน • (โรงพักเพื่อประชาชน) ระยะที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘) ๑. มองภาพรวม โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง + ประชาชนเป็นตัวตั้ง ๒. พัฒนาทุกสถานีตำรวจเป็นองค์รวม เน้นทุกสถานีต้องพัฒนา ๓. กายภาพแค่ ๑๕ % ที่เหลือ ๘๕ % เป็นการพัฒนาโดยเอา ประชาชนเป็นตัวตั้ง ๔. ความดีความชอบ ได้ยกทีม

  8. พื้นที่รับผิดชอบ จะนะ เมืองปัตตานี ยะหริ่ง หนองจิก เทพา ยะรัง โคกโพธิ์ สายบุรี มายอ แม่ลาน นาทวี ทุ่งยางแดง ไม้แก่น กะพ้อ เมืองยะลา สะบ้าย้อย บาเจาะ รามัน ยะหา ยี่งอ รือเสาะ เมืองนราธิวาส กาบัง กรงปินัง บันนังสตา เจาะไอร้อง ระแงะ ตากใบ ศรีสาคร ธารโต สุไหงปาดี สุไหงโก-ลก จะแนะ สุคิริน แว้ง เบตง

  9. สถานการณ์ทั่วไป • การก่อความไม่สงบในพื้นที่ • ภัยคุกคาม : องค์กรลับ / ปิดบังอำพราง • อาชญากรผ่านการฝึกต่อสู้และรบแบบกองโจร • ฝ่ายตรงข้ามจัดชุดปฏิบัติการแบบชุดรบขนาดเล็ก

  10. นโยบาย ศชต./กกล.ตร.จชต. • เข้มแข็งอำนาจรัฐ • ปฏิบัติยุติธรรม • เลิศล้ำงานมวลชน

  11. การขับเคลื่อนนโยบาย • ศชต. จึงกำหนดหัวข้อการประเมิน เพิ่มเติม จากกรอบแนวทางการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชน อีก ๑ ด้าน คือ • งานด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยในพื้นที่ จชต.

  12. แนวทางการประเมินผล • ตร. เห็นชอบในหลักการและจัดทำคู่มือการประเมินผลในส่วนของ ศชต. เป็นการเฉพาะ / กำหนดให้เป็นมาตรฐานเพื่อใช้ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ (การประชุมสัมมนา เมื่อ ๑๕ พ.ค.๕๕)

  13. เจตนารมย์ของผู้บังคับบัญชาเจตนารมย์ของผู้บังคับบัญชา ตรวจเยี่ยม ตรวจสอบ ติดตามประเมินผล รับทราบปัญหา ให้คำแนะนำ

  14. การตรวจโรงพักเพื่อประชาชน พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๘ โรงพักเพื่อประชาชน จเรตำรวจ กกล. ตร. จชต.

  15. การตรวจโรงพักเพื่อประชาชน พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๘ โรงพักเพื่อประชาชน จเรตำรวจ กกล. ตร. จชต.

  16. การตรวจโรงพักเพื่อประชาชน พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๘ โรงพักเพื่อประชาชน ศชต.

  17. การตรวจโรงพักเพื่อประชาชน พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๘ ประโยชน์ที่ได้รับจากแบบตรวจใหม่ • มีการปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานเดียว • ลดภาระสถานีตำรวจในการดำเนินการตามโครงการฯ • ลดภาระผู้ตรวจในการดำเนินการตามโครงการฯ • สถานีตำรวจที่ชนะเลิศได้รับรางวัลและความดีความชอบ ตามหลักเกณฑ์ที่ ตร.กำหนด • สถานีตำรวจในสังกัด ศชต. มีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น

  18. กรอบแนวทางการประเมิน ศชต. โครงการโรงพักเพื่อประชาชน ๑. งานด้านการบริการทั่วไป ๒. งานด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา ๓. งานด้านรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ๔. งานด้านการควบคุมและจัดการจราจร ๕.งานด้านการบริหารและพัฒนาบุคลากร ๖. งานด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยในพื้นที่ จชต.

  19. กรอบแนวคิด กระบวนการ (process) ผลลัพธ์ (0utcome) ผลผลิต (output) แนวทางการดำเนินการประเมิน วัดผลสำเร็จ (เชิงคุณภาพ) วัดผลสำเร็จ (เชิงปริมาณ) วัดผลสำเร็จ (เชิงปริมาณ) แบบสำรวจความคิดเห็น/ ความพึงพอใจ(แบบสอบถาม) ร้อยละความสำเร็จของกระบวนการ งานด้านที่ ๑-๕ : แบบตรวจราชการ จต./ศชต. งานด้านที่ ๖ : แบบตรวจราชการ เฉพาะ ศชต. งานด้านที่ ๑ - ๖ งานด้านที่ ๑ - ๖

  20. กรอบแนวทางการประเมิน

  21. ๑. ด้านการบริการทั่วไป (๕๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๑ : ประชาสัมพันธ์ขั้นตอนให้กับประชาชนผู้มาใช้บริการ (๕ คะแนน) กิจกรรมที่ ๒ : ให้บริการและจัดเจ้าหน้าที่ไว้บริการอย่างเพียงพอ (๑๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๓ : จัดทำป้ายแสดงที่ตั้งและเขตของพื้นที่รับผิดชอบ (๕ คะแนน) กิจกรรมที่ ๔ : รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย (๑๕ คะแนน) กิจกรรมที่ ๕ : รักษามาตรฐานระยะเวลาในการให้บริการ (๗.๕ คะแนน) กิจกรรมที่ ๖ : บริการด้วยความเต็มใจและใส่ใจ (๗.๕ คะแนน)

  22. ๑. ด้านการบริการทั่วไป กิจกรรมที่ ๑ :ประชาสัมพันธ์ขั้นตอนให้กับประชาชนผู้มาใช้บริการ (๕ คะแนน) ประชาสัมพันธ์ขั้นตอนการติดต่องาน และพันธะสัญญาให้กับประชาสัมพันธ์ (๕ คะแนน)

  23. ๑. ด้านการบริการทั่วไป มีการรวมงานที่ประชาชนต้องมาใช้บริการไว้ ณ จุดเดียวกัน ( One Stop Service) (๗.๕ คะแนน ) กิจกรรมที่ ๒ : ให้บริการและจัดเจ้าหน้าที่ไว้บริการอย่างเพียงพอ (๑๐ คะแนน) จัดเจ้าหน้าที่ไว้บริการประชาชนอย่างเพียงพอ (๒.๕ คะแนน )

  24. ๑. ด้านการบริการทั่วไป กิจกรรมที่ ๓ : จัดทำป้ายแสดงที่ตั้งและเขตของพื้นที่รับผิดชอบ (๕ คะแนน) ติดตั้งป้ายแสดงเส้นทางไปสถานีตำรวจ พร้อมคำภาษาอังกฤษ ใต้ชื่อสถานี (๕ คะแนน)

  25. ๑. ด้านการบริการทั่วไป จัดที่จอดรถสำหรับประชาชน(๕ คะแนน ) กิจกรรมที่ ๔ : รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย (๑๕ คะแนน) ดูแลรักษาความสะอาดและตกแต่งสถานที่ภายนอก และบ้านพัก (๕ คะแนน) รักษาความสะอาดและสำนักงานเป็นระเบียบ (๕ คะแนน)

  26. ๑. ด้านการบริการทั่วไป กิจกรรมที่ ๕ : รักษามาตรฐานระยะเวลาในการให้บริการ (๗.๕ คะแนน) ให้บริการด้วยความรวดเร็ว (๗.๕ คะแนน )

  27. ๑. ด้านการบริการทั่วไป กิจกรรมที่ ๖ : บริการด้วยความเต็มใจและใส่ใจ (๗.๕ คะแนน) ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ทุกระดับให้มีใจรักในบริการ (๗.๕ คะแนน )

  28. ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา (๕๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๑ : จัดพนักงานสอบสวนให้เพียงพอและพร้อมให้บริการ (๑ คะแนน) กิจกรรมที่ ๒ : จัดห้องชี้ตัวผู้ต้องหาให้เป็นสัดส่วน (๑ คะแนน) กิจกรรมที่ ๓ : ตรวจสอบการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน (๒๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๔ : ปรับปรุงสารบบการควบคุมสำนวนการสอบสวน (๗ คะแนน) กิจกรรมที่ ๕ : มาตรฐานระยะเวลาในการให้บริการงานสอบสวน (๗ คะแนน) กิจกรรมที่ ๖ : ปรับปรุงการสอบสวนให้สะดวกและรวดเร็ว (๔ คะแนน) กิจกรรมที่ ๗ : พัฒนาความรู้ความสามารถ และคุณธรรม พงส.(๑ คะแนน)

  29. ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา (๕๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๘ : กำกับ ดูแล อำนวยความสะดวกด้านการสอบสวน(๕.๕๐คะแนน) กิจกรรมที่ ๙ : ให้การช่วยเหลือคุ้มครองผู้เสียหาย พยานและเหยื่อ(๑.๕คะแนน) กิจกรรมที่ ๑๐ : จัดห้องควบคุมให้มีความปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ (๒ คะแนน)

  30. ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา กิจกรรมที่ ๑ : จัดพนักงานสอบสวนให้เพียงพอและพร้อมให้บริการ (๑ คะแนน) จัดพนักงานสอบสวนให้เพียงพอในการรับแจ้ง และต้องมีเจ้าหน้าที่สืบสวน ร่วมปฏิบัติงาน (๑ คะแนน)

  31. ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา กิจกรรมที่ ๒ : จัดห้องชี้ตัวผู้ต้องหาให้เป็นสัดส่วน (๑ คะแนน) จัดสถานที่ชี้ตัวผู้ต้องหา ตามแนวทางการปฏิบัติในการชี้ตัวผู้ต้องหา (๑ คะแนน )

  32. ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา ตรวจสอบเร่งรัดสำนวนค้างของ พงส. อย่างสม่ำเสมอ ยกเว้นสำนวนฟื้นฟูผู้เสพยาเสพติด (๑๕ คะแนน ) กิจกรรมที่ ๓ : ตรวจสอบการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน (๒๐ คะแนน) ตรวจรูปแบบการทำสำนวนการสอบสวนตามแนวทาง ตร. กำหนด (๕ คะแนน )

  33. ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา หน.สถานี หรือผู้รับผิดชอบการสอบสวน ควบคุมตรวจสอบการลงรายงานในสมุดสถิติให้ถูกต้องครบถ้วน เป็นปัจจุบัน(๑ คะแนน ) กิจกรรมที่ ๔ : ปรับปรุงสารบบการควบคุมสำนวนการสอบสวน (๗ คะแนน) หน.สถานี หรือผู้รับผิดชอบการสอบสวน ลงลายมือชื่อกำกับในสมุด ควบคุมการส่งและตรวจสอบสำนวน (๑ คะแนน) หน.สถานี หรือผู้รับผิดชอบการสอบสวนควบคุมการจำหน่ายสำนวนด้วยตนเอง (๒ คะแนน) จัดระบบเก็บสำนวน (๑ คะแนน) จัดทำสมุดควบคุมหมายเรียกพยานให้เป็นระบบ (๑ คะแนน) จัดทำสมุดควบคุมคำสั่งให้สอบสวนเพิ่มเติม(๑ คะแนน)

  34. ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา กวดขัน พงส. ให้บริการคืนหลักทรัพย์ประกันตัวผู้ต้องหา (๒ คะแนน) กิจกรรมที่ ๕ : มาตรฐานระยะเวลาในการให้บริการงานสอบสวน (๗ คะแนน) กวดขันการคืนหรือจำหน่ายของกลาง (๑ คะแนน) กวดขันการคืนรถในดคีอุบัติเหตุ (๑.๕ คะแนน) กวดขัน การตรวจสอบและคืนรถต้องสงสัยที่ยึดไว้ (๒.๕ คะแนน)

  35. ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา จัดสถานที่เก็บรักษาของกลางทั่วไป ให้สะดวก สะอาด เรียบร้อย เป็นระบบชัดเจน (๒ คะแนน ) กิจกรรมที่ ๖ : ปรับปรุงการสอบสวนให้สะดวกและรวดเร็ว (๔ คะแนน) มีระบบการควบคุมและรักษาความปลอดภัยของกลาง (๒ คะแนน )

  36. ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา กิจกรรมที่ ๗ : พัฒนาความรู้ความสามารถ และคุณธรรม พงส. (๑ คะแนน) ประเมินผลและจัดอันดับของ พงส. (๑ คะแนน )

  37. ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา แจ้งความคืบหน้าและผลการสอบสวนให้ผู้เสียหายทราบ (๓ คะแนน ) กิจกรรมที่ ๘ : กำกับ ดูแล อำนวยความสะดวกด้านการสอบสวน (๕.๕ คะแนน) กำหนดลำดับความอาวุโส พงส. เป็นผู้มีอำนาจสั่งปล่อยตัว ชั่วคราว แทน หน.สภ. (๑.๕ คะแนน ) ประชาสัมพันธ์หลักเกณฑ์การประกันตัวผู้ต้องหา และการรับหลักฐานการรับคำร้องทุกข์ (๑ คะแนน )

  38. ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา กิจกรรมที่ ๙ : ให้การช่วยเหลือคุ้มครองผู้เสียหาย พยาน และเหยื่อ (๑.๕ คะแนน) จัดทำบัญชีชื่อที่อยู่ของผู้เสียหายในคดีอาญา และพยานในคดีสำคัญเพื่อการคุ้มครอง (๑.๕ คะแนน )

  39. ๒. ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา ห้องควบคุมสะอาด และแยกผู้ต้องขังหญิง ชาย เด็ก หรือเยาวชน (๑ คะแนน ) กิจกรรมที่ ๑๐ : จัดห้องควบคุมให้มี ความปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ (๒ คะแนน) กำหนดมาตรการด้านการรักษาความปลอดภัย ภายในห้องควบคุม (๑ คะแนน )

  40. ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๕๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๑ : ปรับปรุงพัฒนาระบบสายตรวจ (๑๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๒ : เกณฑ์การตรวจพื้นที่ (๕ คะแนน) กิจกรรมที่ ๓ : ปรับปรุงระบบตู้ยามและที่พักสายตรวจ (๒.๕ คะแนน) กิจกรรมที่ ๔ : ตั้งจุดตรวจค้นบุคคลและยานพาหนะทุกวัน (๒.๕ คะแนน) กิจกรรมที่ ๕ : ระดมป้องกันปราบปรามอาชญากรรมทุกเดือน (๒.๕ คะแนน) กิจกรรมที่ ๖ : ข้อมูลพื้นฐานของ สภ. ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน (๒.๕ คะแนน) กิจกรรมที่ ๗ : จัดทำและซักซ้อมแผนเผชิญเหตุอยู่เสมอ (๕ คะแนน)

  41. ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๕๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๘ : ขยายงานตำรวจชุมชนสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทั่วพื้นที่ (๘.๕๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๙ : เร่งรัดการสืบสวนจับกุมคนร้าย (๕ คะแนน) กิจกรรมที่ ๑๐ : ควบคุมปราบปรามแหล่งอบายมุข (๒.๕ คะแนน) กิจกรรมที่ ๑๑ : ปราบปรามยาเสพติดทุกชนิด (๔ คะแนน)

  42. ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๕๐ คะแนน) อบรมชี้แจงเพื่อเสริมสร้างทักษะและตรวจสอบความพร้อมของสายตรวจ(๒ คะแนน ) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติของสายตรวจอย่างเป็นระบบ (๒ คะแนน) กิจกรรมที่ ๑ : ปรับปรุงพัฒนาระบบ สายตรวจ (๑๐ คะแนน) รวบรวมข้อมูลอาชญากรรมในพื้นที่ไว้อย่างสม่ำเสมอ (๒ คะแนน) วิเคราะห์ข้อมูล สถานภาพ อาชญากรรม และสถานการณ์(๒ คะแนน) กำหนดแผนการตรวจอย่างสม่ำเสมอ (๒ คะแนน)

  43. ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๕๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๒ : เกณฑ์การตรวจพื้นที่ (๕ คะแนน) วงรอบการตรวจตู้แดงตามเกณฑ์ (๕ คะแนน )

  44. ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๕๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๓ : ปรับปรุงระบบตู้ยามและที่พักสายตรวจ (๒.๕ คะแนน) การรับแจ้งเหตุประจำวันตู้ยาม ที่พักสายตรวจ จัดรับแจ้งเหตุ หน่วยรับบริการประชาชน ฯลฯ (๒.๕ คะแนน )

  45. ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๕๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๔ : ตั้งจุดตรวจค้นบุคคลและยานพาหนะทุกวัน (๒.๕ คะแนน) ตั้งจุดตรวจอย่างน้อยวันละ ๑ ชม. (๒.๕ คะแนน )

  46. ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๕๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๕ : ระดมป้องกันปราบปรามอาชญากรรมทุกเดือน (๒.๕ คะแนน) ทำการระดมปราบปรามอาชญากรรม (๒.๕ คะแนน )

  47. ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๕๐ คะแนน) จัดทำข้อมูลข่าวสาร (๑ คะแนน ) กิจกรรมที่ ๖ : ข้อมูลพื้นฐานของ สภ. ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน (๒.๕ คะแนน) จัดทำแผนที่เขตรับผิดชอบ นาฬิกาอาชญากรรม รวบรวมข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน (๑ คะแนน ) รวบรวม ระเบียบ คำสั่ง คู่มือ และแนวทางการปฏิบัติ (๐.๕๐ คะแนน )

  48. ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๕๐ คะแนน) กิจกรรมที่ ๗ : จัดทำและซักซ้อมแผนเผชิญเหตุอยู่เสมอ (๕ คะแนน) จัดทำแผนเผชิญเหตุ และซักซ้อม ให้สามารถปฏิบัติงานได้จริง (๕ คะแนน )

  49. ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๕๐ คะแนน) กำหนดแผนการปฏิบัติและรวบรวมผล การปฏิบัติของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ (๓.๕ คะแนน) กิจกรรมที่ ๘ : ขยายงานตำรวจชุมชนสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทั่วพื้นที่ (๘.๕๐คะแนน) ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม (๒ คะแนน) แสวงหาความร่วมมือจากประชาชนที่ ตร. กำหนด (๒ คะแนน) การจัดชุมชนปลอดยาเสพติด (๑ คะแนน)

  50. ๓. ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๕๐ คะแนน) จัดทำแฟ้มประวัติและภาพถ่ายคนร้ายในพื้นที่ โดยแยกประเภทความผิด (๒.๕ คะแนน) กิจกรรมที่ ๙ : เร่งรัดการสืบสวนจับกุมคนร้าย (๕ คะแนน) จัดทำแฟ้มบุคคลพ้นโทษที่อยู่ในพื้นที่ไว้อย่างเป็นระบบ (๑ คะแนน ) มีการเร่งรัดจุบกุมคดี (เฉพาะที่ออกหมายจับ รู้ตัวชัดเจน) (๑.๕๐ คะแนน )

More Related