91 likes | 347 Views
. แรงงานนอกระบบคือใคร ใครคือแรงงานอกระบบ. คนทำงานที่ไม่อยู่ในระบบการคุ้มครอง + พรบ . ประกันสังคม พศ . 2533 + พรบ . คุ้มครองแรงงาน พศ . 2541. การกระจายงานนอกโรงงานหรือบริษัท สู่ ชุมชน / ชนบท. ประชากรผู้มีงานทำของประเทศ 35.5 ล้านคน. Sub Contract. แรงงานในระบบ 13.7 ล้านคน. Home Workers
E N D
. แรงงานนอกระบบคือใคร ใครคือแรงงานอกระบบ คนทำงานที่ไม่อยู่ในระบบการคุ้มครอง +พรบ.ประกันสังคม พศ. 2533 + พรบ.คุ้มครองแรงงาน พศ. 2541
การกระจายงานนอกโรงงานหรือบริษัท สู่ ชุมชน / ชนบท ประชากรผู้มีงานทำของประเทศ 35.5 ล้านคน Sub Contract แรงงานในระบบ 13.7 ล้านคน Home Workers Contract Farming 38.6% 61.4% การชะลอตัวการลงทุน Lay off แรงงานนอกระบบ 21.8 ล้านคน นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจรัฐบาลชุดที่ผ่านมา (OTOP & SME) Self Employ สำนักงานสถิติ2549 แรงงานนอกระบบมาจากไหน เกิดระบบการจ้างเหมาช่วงงาน สู่ แรงงานในชุมชน /เกษตรกรผู้รับงานไปทำที่บ้าน
ขาดเครื่องมืออุปกรณ์ป้องกัน /การไม่คุ้นเคยในการใช้ • อันตรายจากเครื่องจักร/อุปกรณ์ ท่าทางการทำงาน ( การยศาสตร์) ที่ไม่เหมาะสม • สภาพแวดล้อมการทำงานที่ไม่เหมาะสม(ฝุ่น / ความร้อน / แสงสว่าง / เสียง หรือสารเคมีฟุ้งกระจาย ) • ชั่วโมงการทำงานยาว ความรู้ความเข้าใจเรื่องอาชีวอนามัย ไม่มีนโยบายและกฎหมายที่เหมาะสมกับบริบทแรงงานนอกระบบ แรงงานนอกระบบ 21.8 ล้านคน ปัญหาจากการทำงาน 5.8 ล้านคน ค่าตอบแทนน้อย ไม่มีงานอย่างต่อเนื่อง ทำงานหนัก ไม่ได้รับสวัสดิการ ชั่วโมงทำงานมากกว่าปกติ ไม่มีวันหยุด วันลา 26.6 % 73.4 % ปัญหาความไม่ปลอดภัยและสภาพแวดล้อม ในการทำงาน16 ล้านคน
ปัญหาที่เป็นเงื่อนไขหนึ่งในด้านนโยบายปัญหาที่เป็นเงื่อนไขหนึ่งในด้านนโยบาย =ไม่เป็นที่รู้จักไม่เป็นที่รับรู้ =ไม่ถูกนับว่าเป็นแรงงาน =ความตระหนักในตัวตน
หลักประกันด้านรายได้ หลักประกันด้านสุขภาพและความปลอดภัย หลักประกันด้านสวัสดิการสังคม : มิติแรงงาน คุณภาพชีวิตแรงงานอกระบบ
ระดับชาติ วิชาการนโยบาย วิชาการนโยบาย หลักประกันทางสังคม ชุมชน ชุมชน ความมั่งคงทางเศรษฐกิจ สุขภาพ : อาชีวอนามัย ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม ในการทำงาน คุณภาพชีวิต แรงงานนอกระบบ วิชาการนโยบาย วิชาการนโยบาย ความเป็นชุมชน กลุ่ม / เครือข่าย ท้องถิ่น ท้องถิ่น สิทธิแรงงาน วิชาการนโยบาย วิชาการนโยบาย ระดับชาติ
หลักประกันด้านสุขภาพและความปลอดภัยหลักประกันด้านสุขภาพและความปลอดภัย มาตรฐานการบริการด้านอาชีวอนามัยในระดับปฐมภูมิ นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและการบูรณาการ หน่วยงานภายในกระทรวง ข้อมูลและองค์ความรู้รวมถึงการจัดการข้อมูลองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาระบบการจัดบริการและการส่งเสริมป้องกัน นโยบายท้องถิ่นกับการสนับสนุนการจัดบริการ และการส่งเสริมสุขภาพกับกลุ่มอาชีพ กลไกการเฝ้าระวังและส่งเสริมในระดับชุมชนหรือกลุ่มอาชีพ