490 likes | 818 Views
การเข้าร่วมโครงการ “”เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (Education Criteria for Performance Excellence; EdPEx ). สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. การดำเนินงานในโครงการ EdPEx ของสำนักวิชาพยาบาลศาสตร์. ปี 2553 เข้าร่วมในโครงการนำร่องฯ 15 สถาบันการศึกษา
E N D
การเข้าร่วมโครงการ“”เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ(Education Criteria for Performance Excellence; EdPEx) สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การดำเนินงานในโครงการ EdPExของสำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ ปี 2553 เข้าร่วมในโครงการนำร่องฯ 15 สถาบันการศึกษา โดยมีพี่เลี้ยงโครงการ ได้รับการ Site visit รวม 4 ครั้ง นพ.กิตติพงษ์ เรียบร้อย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รศ.นพ.สุธรรม ปิ่นเจริญ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการนำร่องฯประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการนำร่องฯ
ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการนำร่องฯ (ต่อ) 1. มีการจัดทำแผนการปรับปรุงและพัฒนางานของสำนักวิชาฯ 2. การดำเนินการที่จะทำให้ร้อยละของการสอบผ่านใบประกอบ วิชาชีพฯ สูงขึ้น 3. การสร้าง War room 4. สร้างกลไกการรับฟังและการสื่อสารกับผู้ที่เกี่ยวข้อง 5. ทำการสำรวจความพึงพอใจและความผูกพันฯ ของพนักงานของสำนักวิชาฯ
ปัญหาและอุปสรรค ขณะเข้าร่วมโครงการนำร่อง 1. การประสานความร่วมมือกับบุคลากรในหน่วยงานอื่นของมหาวิทยาลัย เนื่องจากบุคลากรในหน่วยงานอื่นยังไม่มีความรู้ความเข้าใจเรื่อง EdPEx 2. การบริหารจัดการเวลาของผู้เข้าร่วมโครงการ
การดำเนินงานในโครงการ EdPExของสำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ ปี 2554 รับการประเมินฯ และสรุปผลเพื่อปิดโครงการ รศ.พญ.ปรียานุช แย้มวงษ์ รศ.รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม
ความเห็นเพิ่มเติมของผู้ประเมิน (สรุปผลและปิดโครงการนำร่องฯ) 1. สำนักวิชาฯ ไม่ได้กำหนดความต้องการและความคาดหวังในการเข้าร่วมโครงการ 2. เกิดความเข้าใจและการเรียนรู้เมื่อทำงานร่วมกับพี่เลี้ยง ซึ่งใช้คำถามกระตุ้นให้เกิดความคิดและเห็นแนวทางในการพัฒนา 3. ปัจจัยที่ทำให้เกิดความสำเร็จคือการกระตุ้นจากพี่เลี้ยง-commitment ของผู้บริหาร การทำงานของทีมงานที่นำแนวคิดของเกณฑ์ไปใช้ในกระบวนการทำงานในกิจกรรมปกติ
การดำเนินงานในโครงการ EdPExของสำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ ปัจจุบันเข้าร่วมโครงการต่อยอดฯ (Cohort#2) กิจกรรมที่ผ่านมา
การดำเนินงานในโครงการ EdPEx;Cohort 2
คำถามจากผู้ตรวจประเมินคำถามจากผู้ตรวจประเมิน
วิสัยทัศน์ ภายในปี 2560 สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ จะเป็นองค์การเรียนรู้บูรณาการพันธกิจ สร้างพันธมิตร นำการพยาบาลสู่สากล หลักสูตรที่มีความโดดเด่น : หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555)
จำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2556 รวม 293 คน 1. จำแนกตามชั้นปี
จำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2556 รวม 293 คน 2. จำแนกตามประเภทรับเข้าศึกษา
จำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2556 รวม 293 คน 3. จำแนกตามภูมิภาค
จำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2556 รวม 293 คน 4. จำแนกตามศาสนา
จำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2556 รวม 293 คน
จำนวนบุคลากร ปีการศึกษา 2556 หมายเหตุ *อาจารย์ลาศึกษาต่อ จำนวน 3 คน มีนักเรียนทุน จำนวน 2 คน อยู่ระหว่างการศึกษาต่อระดับปริญญาโท
ยุทธศาสตร์หลัก • ผลิตพยาบาลในระดับวิชาชีพและวิชาชีพขั้นสูง ที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ของสำนักวิชาพยาบาลศาสตร์และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ • สร้างงานวิจัย งานวิชาการ และนวัตกรรม ที่สอดคล้องกับสภาวการณ์ด้านสุขภาพของประชาชนทุกช่วงวัย ทุกกลุ่ม ตลอดจนของท้องถิ่น ประเทศ และสังคมโลก • นำความรู้ด้านสุขภาพที่เชี่ยวชาญให้บริการทางวิชาการ เพื่อพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรด้านสุขภาพและศักยภาพด้านการดูแลตนเองของประชาชน • ส่งเสริมการใช้และให้คุณค่าแก่ภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นภาคใต้ • บูรณาการความรู้จากงานวิจัย งานวิชาการ การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม กับการเรียนการสอนและการดูแลนักศึกษา • สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการทำงาน ทั้งในด้านการผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
เป้าหมาย • ผลิตบุคลากรทางการพยาบาลที่มีปัญญา มีคุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ มีคุณภาพตามมาตรฐานของประเทศและระดับสากล มีจิตสำนึกสาธารณะ และมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต • ศึกษาค้นคว้า วิจัย พัฒนาองค์ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาลให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ • จัดบริการวิชาการเพื่อสนองตอบความต้องการการพัฒนาบุคลากรในท้องถิ่นและการศึกษาต่อเนื่องในวิชาชีพการพยาบาล • ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมที่สะท้อนถึงวัฒนธรรมชาวใต้ โดยคำนึงถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรม รวมทั้งวิถีชีวิต เพื่อให้สำนักวิชาเป็นศูนย์รวมของชุมชนและเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม
สมรรถนะหลัก: การเป็นองค์กรขนาดเล็กที่มีศักยภาพสูง (Small and Smart) ภายใต้การบริหารแบบ Flat Organization
ความท้าทาย/ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ความท้าทาย/ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์: 1. การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่สภาวะการแข่งขันทางด้านการพยาบาลกับ กลุ่มประเทศอาเซียน 2. นโยบายของรัฐบาลในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานด้านสุขภาพ ในด้านการเป็นศูนย์กลางสุขภาพแห่งประเทศไทย (Thailand Medical Hub) 3. การก้าวเข้าสู่มหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพ ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์: 1. ความคล่องตัวในการบริหารจัดการและศักยภาพของบุคลากร 2. การผลิตพยาบาลคุณภาพสูง โดยใช้บุคลากรจำนวนน้อย 3. ความสัมพันธ์อันดีกับแหล่งฝึกปฏิบัติ
การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขันการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน
ผลลัพธ์/ผลงานที่โดดเด่น ปีการศึกษา 2555
ภาพรวม กราฟแสดงผลการประเมินในภาพรวม 9 องค์ประกอบ ปีการศึกษา 2553 – 2555 จำแนกตามสำนักวิชา และในภาพรวมมหาวิทยาลัย หมายเหตุ ปีการศึกษา 2553 ไม่รวมตัวบ่งชี้ของ สมศ.
การเรียนการสอน ปรับวิธีการเรียนการสอนโดยใช้ M-Learning เพื่อแก้ปัญหาที่พบจากการทำ Focus group discussion ในบัณฑิตที่สอบใบประกอบวิชาชีพฯ ไม่ผ่านทุกรายวิชาในการสอบครั้งแรก
ตัวอย่างโครงการวิจัยและการบริการวิชาการตัวอย่างโครงการวิจัยและการบริการวิชาการ • เครือข่าย KM เบาหวาน : ระดับประเทศ • โครงการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาฯ : 12 จังหวัดภาคใต้ • โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก : นครศรีธรรมราช • โครงการสถานที่ทำงานน่าอยู่น่าทำงาน
2552 วิจัยรูปแบบการสร้างสมรรถนะชุมชนในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก 3 ตำบลในอำเภอเมืองนครศรีฯ งบประมาณแผ่นดิน • วิจัยไข้เลือดออก ตำบลปากพูน สสส. 2553-2554 วิจัยอย่างต่อเนื่องในตำบลกำแพงเซา ในตำบลปากพูน (สกอ., สกว) วิชาสถิติเบื้องต้นและการจัดการข้อมูลสุขภาพ บริการวิชาการในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก วิทยาการระบาด ป. ตรี และ ป. โท เอกสารคำสอนวิทยาการระบาดกับการพยาบาล เอกสารคำสอนที่มีวิจัยเรื่องไข้เลือดออก ไข้เลือดออก ISI : 3 PubMed : 3 Scopus : 1, TCI : 3 บริการวิชาการในชุมชน
2555 การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนตำบลกำแพงเซา (สกอ.) 2555-6 การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกในกลุ่ม อสม. ตำบลกำแพงเซา (สกอ.) 2556-7 การถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ 12 ตำบลในพื้นที่อำเภอเมือง 2557 วิจัยพื้นที่เสี่ยงของไข้เลือดออกอำเภอเมือง แบบประเมินสมรรถนะชุมชนฯ ที่มีคุณภาพ หนังสือ 2 เล่มจากผลงานการทำวิจัย โปรแกรมคำนวณดัชนีลูกน้ำ บริการวิชาการในกลุ่ม อสม., เอกสารคำสอนการใช้ผลการวิจัย (EBNP) บริการวิชาการในโรงเรียน กำแพงเซาโมเดล : ต้นแบบการแก้ปัญหาไข้เลือดออกในระดับตำบล
ความภาคภูมิใจ ประกาศเกียรติคุณ โครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ ปี 2556 (วุฒิสภา) รางวัล บุคลากรดีเด่นด้านการวิจัย ในโอกาสครบปีที่ 21 มวล.
โครงการเครือข่าย KM เบาหวาน * ** คนร่วมงาน *ร่วมกับ สรพ.กรมการแพทย์สนับสนุนโดยแผนงานร่วม สสส. สปสช. **สนับสนุนโดย สปสช.
โครงการเครือข่าย KM เบาหวาน คน IDF BRIDGES 65,000 USD Thailand NHSO 11+ Million THB มูลนิธิเพื่อพัฒนาการบริบาลผู้ป่วยเบาหวาน 1+ Million THB
มสช.เชิญเขียนหนังสือเรื่องการใช้ Tacit Knowledge ทุนของ Alliance for Health Policy and System Research 2556 International Diabetes Federation เชิญเป็น Invited Speaker ใน World Diabetes Congress 2011 ที่ดูไบ UAE 2554 International Insulin Foundation เชิญไปแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ที่ประเทศเวียดนาม (ทุนจาก IDF) 2552 Handicap International เชิญไปแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ที่เมือง Lyon ประเทศฝรั่งเศส 2551
โล่ชื่นชมคุณค่าด้านภารกิจการบริการวิชาการโล่ชื่นชมคุณค่าด้านภารกิจการบริการวิชาการ ในโอกาสครบปีที่ 21 มวล.
บริการวิชาการ โครงการส่งเสริมการจัดกระบวนเรียนรู้เพศศึกษาฯ ดำเนินการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาสำหรับเยาวชนในสถานศึกษาของเขตพื้นที่ภาคใต้ 12 จังหวัด โดยได้รับการสนับสนุนจากองค์การแพธ
โครงการการดูแลช่วยเหลือที่เป็นมิตรWalailak life & Love care • พัฒนาระบบการดูแลนักศึกษาในโครงการWalailak life & Love careผ่านระบบออนไลน์ • จะจัดให้มีการให้คำปรึกษาผ่าน chat room ในเรื่องความรัก สุขภาพทางเพศ สุขภาพจิต การปรับตัว บุคลิกและความงาม และอื่นๆ http://202.28.68.12/chat/
ความภาคภูมิใจ โล่เชิดชูเกียรติด้านภารกิจการบริการวิชาการ ในโอกาสครบปีที่ 21 มวล.
ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย 2557-2559 เครือข่าย KM เบาหวาน สร้างเสริม สังคมสุขภาพ สร้างเสริม ความสามารถสากล เพศวิถี ศึกษารอบด้าน สร้างเสริม สังคมเข้มแข็ง ไข้เลือดออก สร้างเสริม แหล่งพัฒนาความรู้
ดีมาก ดีมาก ดี 2554 2555 พื้นฐาน 2553 2552 บรรยากาศการทำงาน : โครงการสถานที่ทำงานน่าอยู่น่าทำงาน • จัดสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้น่าอยู่ • กิจกรรม 5 ส. • กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกาย-จิต ผลการประเมิน
สถานที่ทำงาน น่าอยู่ น่าทำงาน
กระบวนการที่ทำให้เกิดรางวัลจากภายนอกกระบวนการที่ทำให้เกิดรางวัลจากภายนอก