790 likes | 1.04k Views
ก ารประชุม Video Conference ระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กับสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ครั้งที่ 1/2556 วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ระหว่างเวลา 09.00 – 12.00 น.
E N D
การประชุม Video Conferenceระหว่างสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์กับสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดครั้งที่ 1/2556วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556ระหว่างเวลา 09.00 – 12.00 น.
กฎหมายในความรับผิดชอบกฎหมายในความรับผิดชอบ • พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 ซึ่งปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 • พระราชบัญญัติวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ. 2556
ประเด็นการประชุมชี้แจงและปรึกษาหารือประเด็นการประชุมชี้แจงและปรึกษาหารือ • งานนโยบายและแผน • งานทะเบียนและประสานงาน • งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • งานเลขานุการคณะกรรมการ • งานรับรองมาตรฐาน • งานพระราชบัญญัติวิชาชีพสังคมสงเคราะห์
งานนโยบายและแผน • การจัดสรรงบประมาณให้จังหวัด ปี 2556 • การจัดทำยุทธศาสตร์สวัสดิการสังคมไทย ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2555 – 2559) • การจัดทำแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2555 – 2559) • การจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปี 2556 ตามแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด
การประชุมองค์กรสาธารณประโยชน์ นักสังคมสงเคราะห์ และอาสาสมัคร (10,000 บาท/จังหวัด) การประชุมคณะ กรรมการและอนุกรรมการ (130,000 บาท/จังหวัด) งบประมาณ ที่จัดสรรให้จังหวัด ปี 2556 (160,000 บาท/จังหวัด) การจัดงานวันสังคม สงเคราะห์แห่งชาติและวันอาสาสมัครไทย (10,000 บาท/จังหวัด) การประชุมสมัชชาสวัสดิการสังคมจังหวัด (10,000 บาท/จังหวัด)
นำไปสู่การปฏิบัติ นำไปสู่การปฏิบัติ หมายเหตุ : แผนยุทธศาสตร์สวัสดิการไทย ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2555-2559) และแผนปฏิบัติการตามแผน ยุทธศาสตร์ฯ สามารถดูได้ใน www.m-society.go.th/mos.social
สรุปข้อมูลการจัดส่งแผนยุทธศาสตร์สรุปข้อมูลการจัดส่งแผนยุทธศาสตร์ การจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด (พ.ศ. 2555-2559) (8 จังหวัด) (39 จังหวัด) (30 จังหวัด) หมายเหตุ : - จำนวน 77 จังหวัด - ข้อมูล ณ เดือนมกราคม 2556
งานทะเบียนและประสานงานงานทะเบียนและประสานงาน • การรับรององค์กรสาธารณประโยชน์ • การรับรององค์กรสวัสดิการชุมชน • การรายงานผลการปฏิบัติงาน • การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการรับรององค์กรภาคเอกชนเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์และการรับรององค์กรภาคประชาชนเป็นองค์กรสวัสดิการชุมชน • การจัดทำทะเบียนโปรแกรม Back Office พรบ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • Website และfacebookสำนักงาน ก.ส.ค. • ภารกิจงานอาเซียนในความรับผิดชอบ
สรุปข้อมูลองค์กรสาธารณประโยชน์ภาพรวมสรุปข้อมูลองค์กรสาธารณประโยชน์ภาพรวม ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 รวม 3,654 องค์กร
สรุปข้อมูลองค์กรสาธารณประโยชน์แยกตามภาคสรุปข้อมูลองค์กรสาธารณประโยชน์แยกตามภาค ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 รวม 3,654 องค์กร
สรุปจำนวนองค์กรสวัสดิการชุมชนสรุปจำนวนองค์กรสวัสดิการชุมชน ข้อมูล 15 กุมภาพันธ์ 2556 จำนวน 3,593 องค์กร
ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556
ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556
ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556
ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556
ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556
ขั้นตอนการรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์ และองค์กรสวัสดิการชุมชน ขั้นตอนการปฏิบัติ มูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรภาคเอกชน ยื่นคำขอรับรองต่อสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร หรือสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ด้วยตนเองหรือส่งโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ กรณีองค์กรภาคประชาชนให้ยื่นผ่าน อบต./เทศบาลหรือเขต ก่อนส่ง พมจ./สำนักพัฒนาสังคม กทม. (หาก อปท. เขต ไม่ให้ความเห็นภายใน 30 วัน ให้ยื่นที่ พมจ. สำนักพัฒนาสังคม กทม. ได้เลย) ขั้นตอนที่ 1 สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร หรือสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารหลักฐาน ขั้นตอนที่ 2
การรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์(ต่อ)การรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์(ต่อ) ขั้นตอนการรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์(ต่อ) การปฏิบัติ เสนอต่อคณะอนุกรรมการรับรององค์กรสาธารณประโยชน์ องค์กรสวัสดิการชุมชนกรุงเทพมหานคร หรือคณะอนุกรรมการรับรองฯ จังหวัด ถ้าไม่ได้รับการรับรองให้สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร หรือสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดแจ้งให้มูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรภาคเอกชน /องค์กรภาคประชาชนทราบ ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ส่งให้สำนักงาน ก.ส.ค. ออกใบสำคัญแสดงการรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์ /องค์กรสวัสดิการชุมชน
การประกอบกิจการเพื่อสังคมการประกอบกิจการเพื่อสังคม • กรณีองค์กรสาธารณประโยชน์ที่มีการประกอบกิจการเพื่อสังคม คือ มีการประกอบธุรกิจแต่ไม่ได้เอากำไรมาแบ่งปันกัน แต่เอามาใช้ในกิจการเพื่อสาธารณประโยชน์ขององค์กรสามารถขอรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์ได้ (ตามข้อกำหนดคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการยื่นคำขอและการรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์ พ.ศ. 2555)
การรายงานผลการปฏิบัติงานขององค์กรสาธารณประโยชน์และองค์กรสวัสดิการชุมชนการรายงานผลการปฏิบัติงานขององค์กรสาธารณประโยชน์และองค์กรสวัสดิการชุมชน ตามระเบียบสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติว่าด้วยการกำกับ ดูแล ตรวจสอบการดำเนินงาน หลักเกณฑ์และวิธีการรายงานการใช้จ่ายเงินขององค์กรสาธารณประโยชน์และองค์กรสวัสดิการชุมชน พ.ศ. 2555 กำหนดให้องค์กรสาธารณประโยชน์รายงานผลการปฏิบัติงาน โดยในท้องที่กรุงเทพมหานครให้ส่งรายงานต่อสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานครในเขตท้องที่อื่นให้ส่งรายงานต่อสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดท้องที่นั้น ภายในสามสิบวันนับแต่วันสิ้นเดือนมีนาคมและสิ้นเดือนกันยายนของทุกปี
ปัญหาที่เกิดขึ้น • บางจังหวัดยังมีการรับรององค์กรสาธารณประโยชน์และองค์กรสวัสดิการชุมชนจำนวนน้อยมาก • บางจังหวัดไม่มีการไปตรวจสอบว่าองค์กรที่ขอรับรองมีการปฏิบัติงานจริงหรือไม่ และไม่รู้จักที่ตั้งขององค์การ • บางองค์กรไม่ได้รับการรับรอง เนื่องจากขัดแย้งกับพื้นที่ คณะอนุกรรมการรับรององค์กรเข้มงวดจนเกินไป • กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลไม่ยอมมารับการรับรองตามกฎหมาย • บางองค์กรเป็นองค์กรกระดาษ ตั้งมาเพื่อหวังประโยชน์ เช่น หวังขอเงินกองทุนแต่เมื่อไม่ได้ก็ไม่ทำอะไร • บางองค์กรใช้ที่ตั้งสำนักงานอยู่ที่หน่วยงานของรัฐ ได้แก่ อบต. เทศบาล สำนักงาน พมจ. ทำให้บางครั้งไม่สามารถติดต่อองค์กรโดยตรงได้
การจัดทำทะเบียนตาม กฎหมายส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
บทบาทหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติบทบาทหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ มาตรา 15 (9) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 ได้กำหนดให้สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ มีอำนาจหน้าที่ในการจัดทำทะเบียนกลางเกี่ยวกับองค์การสวัสดิการสังคม นักสังคมสงเคราะห์ อาสาสมัคร และผู้รับบริการสวัสดิการสังคม
บทบาทหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดบทบาทหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด มาตรา 20 (8) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 ได้กำหนดให้สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดมีอำนาจหน้าที่ในการจัดทำทะเบียนเกี่ยวกับองค์การสวัสดิการสังคม นักสังคมสงเคราะห์ อาสาสมัคร และผู้รับบริการสวัสดิการสังคม
ปี ๒๕๕๖ เปิดโอกาสให้องค์กรสาธารณประโยชน์และ องค์กรสวัสดิการชุมชน เข้าระบบ back office ป้อนข้อมูลได้ด้วยตนเอง (อยู่ระหว่างให้องค์กรเสนอรายชื่อผู้มีสิทธิใช้ระบบเพื่อให้รหัสผ่าน)
Website และ Facebookสำนักงาน ก.ส.ค.
Website สำนักงาน ก.ส.ค.www.m-society.go.th/msosocial.php
Facebookสำนักงาน ก.ส.ค.http://www.facebook.com/SWsocialwelfare
ภารกิจที่เกี่ยวข้องกับ ASEAN • การประชุม GO-NGO Forumประชุมทุกปีก่อนการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส/รัฐมนตรีสวัสดิการสังคมและการพัฒนาอาเซียน • การดำเนินงานภาคีความร่วมมือระหว่างผู้ปฏิบัติงาน นักการศึกษา สถาบันการศึกษาด้านสังคมสงเคราะห์ในอาเซียน (ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ปี ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ จะมีการเชิญประชุมภาส่วนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าวในปีนี้
อื่น ๆ • การจัดงานวันสังคมสงเคราะห์แห่งชาติและวันอาสาสมัครไทย • การจัดงานวันสังคมสงเคราะห์โลก
กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม ระบบปกติ สนับสนุนโครงการทั่วไปของ องค์การสวัสดิการสังคม ที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ สนับสนุนโครงการขององค์การ สวัสดิการสังคมที่ตอบสนอง ภาพรวมของประเทศ ระบบกระจายกองทุนสู่ภูมิภาค และท้องถิ่น สนับสนุนโครงการขององค์การ สวัสดิการสังคมที่ตอบสนอง ภาพรวมของจังหวัดทุก จว. สนับสนุนโครงการขององค์การ สวัสดิการสังคมที่ตอบสนอง พื้นที่ อบต./เทศบาล ทุกแห่ง
งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมในความรับผิดชอบของสำนักงาน ก.ส.ค. (กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมอยู่ภายใต้ พรบ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม กองบริหารกองทุน สป.พม. ดูแลกองทุนในระบบปกติ สำนักงาน ก.ส.ค. ดูแลระบบกระจายกองทุนสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น)
งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • การกระจายเงินกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น ปี ๒๕๕๖ • การจัดสรรเงินกองทุนฯปี ๒๕๕๖ • ๑. กลุ่มจังหวัดขนาดใหญ่ (๑๒ จังหวัด) ให้การสนับสนุนเงินแก่องค์การสวัสดิการสังคมเพื่อจัดทำโครงการเชิงประเด็น และโครงการเชิงพื้นที่ จังหวัดละ จำนวน ๙๐๐,๐๐๐ บาท งบบริหารจัดการ ๑๖๐,๐๐๐ บาท • ๒. กลุ่มจังหวัดขนาดกลาง (๒๓ จังหวัด) ให้การสนับสนุนเงินแก่องค์การสวัสดิการสังคมเพื่อจัดทำโครงการเชิงประเด็น และโครงการเชิงพื้นที่ จังหวัดละ จำนวน ๗๐๐,๐๐๐ บาท งบบริหารจัดการ ๑๕๐,๐๐๐ บาท
งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • ๓. กลุ่มจังหวัดขนาดเล็ก (๔๒ จังหวัด) ให้การสนับสนุนเงินแก่องค์การสวัสดิการสังคมเพื่อจัดทำโครงการเชิงประเด็น และโครงการเชิงพื้นที่ จังหวัดละ จำนวน ๖๐๐,๐๐๐ บาท งบบริหารจัดการ ๑๔๐,๐๐๐ บาท • ระยะเวลาการเบิกจ่ายเงินกองทุนฯและการพิจารณาโครงการ ขอให้จังหวัดเร่งดำเนินการพิจารณาโครงการเชิงประเด็นและโครงการเชิงพื้นที่ และเบิกจ่ายเงินกองทุนให้แล้วเสร็จภายในเดือนมีนาคม ๒๕๕๖
งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • การรายงานความคืบหน้าการเบิกจ่ายเงินกองทุน ขอให้รายงานผลการใช้จ่ายเงินที่สนับสนุนโครงการเชิงประเด็นและเชิงพื้นที่ รวมทั้งงบบริหารจัดการ ให้กองบริหารกองทุนทราบทุกเดือน เพื่อทราบความคืบหน้าในการเบิกจ่ายเงิน การพิจารณาสนับสนุนเงินกองทุนให้แก่องค์การสวัสดิการสังคม - การพิจารณาโครงการ ควรให้การสนับสนุนเงินกองทุนไม่เกินกว่างบประมาณของค่าใช้จ่ายโครงการและงบประมาณที่องค์การขอสนับสนุนเงินเพื่อจัดทำโครงการ
งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • - กรณีโครงการเชิงพื้นที่ องค์กรที่สามารถขอรับสนับสนุนเงินกองทุนได้ ประกอบด้วยองค์กรสาธารณประโยชน์ องค์กรสวัสดิการชุมชน หน่วยงานรัฐ และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น • - องค์การที่ได้รับการสนับสนุนเงินกองทุน ก่อนดำเนินโครงการ จังหวัดควรชี้แจงรายละเอียดระเบียบที่เกี่ยวข้อง เช่น ระยะเวลาการรายงานผลโครงการ การขยายระยะเวลา การคืนเงินในกรณีต่าง ๆ ด้วย เป็นต้น
งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • การรายงานผลการปฏิบัติงานทางเอกสารและทาง back office • - การปรับปรุง แก้ไข และพัฒนา ระบบฐานข้อมูล จะดำเนินการเสร็จในเดือนมีนาคม ๒๕๕๖ • - ขอความร่วมมือจังหวัดมอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนปฏิบัติหน้าที่ในการบันทึกข้อมูลโครงการที่ได้รับเงินกองทุน ปี ๒๕๕๖ • และส่งชื่อผู้บันทึกข้อมูลให้ ก.ส.ค. ภายในวันที่ ๗ มีนาคม
งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • - การเตรียมความพร้อมให้เจ้าหน้าที่ในการบันทึกข้อมูลปี ๒๕๕๖ จะจัดอบรมภายในเดือนเมษายน โดยผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ (Web Conference) การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด
งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • - การออกคำสั่งเพื่อตั้งคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด ตามคำสั่งคณะกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม ที่ ๒/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๕ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด นั้น เนื่องจากในคำสั่งดังกล่าวได้ให้อำนาจผู้ว่าราชการจังหวัดในการแต่งตั้งอนุกรรมการ ตามข้อ ๑.๒ – ข้อ ๑.๑๑ การออกคำสั่งจึงต้องออกเป็นคำสั่งจังหวัด โดยอาศัยอำนาจผู้ว่าราชการจังหวัดลงนาม
งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • -เจ้าหน้าที่ของจังหวัดที่ พมจ.มอบหมาย มีฐานะเป็นผู้ช่วยเลขานุการเท่านั้น มิได้เป็นอนุกรรมการ • - เบี้ยประชุมอนุกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • ส่วนกลางได้โอนไปให้จำนวน ๖๑,๐๐๐ บาท และค่าใช้จ่ายในการจัดประชุม จำนวน ๒,๕๐๐ บาท
งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • แผนการประชุมอนุกรรมการ เขียนโครงการ และถอดบทเรียน • - ต้นเดือนมีนาคม ๒๕๕๖ สำนักงาน ก.ส.ค.จะจัดประชุมเชิงปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับการเขียนและวิเคราะห์โครงการแก่เจ้าหน้าที่จังหวัด และพัฒนาศักยภาพอนุกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม รวมทั้งบุคคลที่จะให้คำแนะนำการเขียนโครงการแก่องค์การสวัสดิการสังคมในพื้นที่
งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • - การคัดเลือกโครงการระดับประเทศและถอดบทเรียน สำนักงาน ก.ส.ค.จะดำเนินการในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๖ • คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติได้มีคำสั่งที่ ๑/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • -การติดตามประเมินผลโครงการ • ขอให้ดำเนินการติดตามผลโครงการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งโครงการมีด้วยกัน ๒ ประเภท คือ โครงการระยะสั้น และโครงการระยะยาว
คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ (ก.ส.ค.) คณะกรรมการส่งเสริม การจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด คณะกรรมการติดตามประเมินผล กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม คณะกรรมการส่งเสริม การจัดสวัสดิการสังคม กรุงเทพมหานคร คณะกรรมการบริหารกองทุน ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม คณะอนุกรรมการรับรอง องค์กรสาธารณประโยชน์และ องค์กรสวัสดิการชุมชน ๗๖ คณะ* คณะอนุกรรมการ กลั่นกรองโครงการฯ คณะทำงานจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ ๕ ปีฯ คณะอนุกรรมการส่งเสริมการจัด สวัสดิการสังคมด้านผู้สูงอายุ ๗๕ จังหวัด คณะอนุกรรมการบริหาร กองทุนฯ จังหวัด/กทม. ๗๖ คณะ* คณะทำงานจัดทำ แผนสวัสดิการถ้วนหน้า ปี ๒๕๖๐ คณะอนุกรรมการสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการนโยบายและแผน คณะอนุกรรมการคัดเลือกอาสาสมัครดีเด่น และองค์การที่มีกิจกรรมทางสังคมดีเด่น คณะทำงานกลั่นกรองอาสาสมัคร และองค์การที่มีกิจกรรม ทางสังคมดีเด่น คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ คณะทำงานพัฒนา คุณภาพชีวิต ๑๐ กลุ่มเป้าหมาย และเพิ่มเติม 3 กลุ่มเป้าหมาย คณะอนุกรรมการส่งเสริมบทบาท นักสังคมสงเคราะห์ คณะทำงานภาคีความร่วมมือ ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน นักการศึกษา และสถาบันการศึกษาด้าน สังคมสงเคราะห์ของประเทศไทย คณะอนุกรรมการประสานงานและ ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม คณะทำงานส่งเสริม อาสาสมัคร คณะอนุกรรมการส่งเสริม องค์กรสวัสดิการชุมชน คณะอนุกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ การส่งเสริมธุรกิจเพื่อสังคม คณะทำงานส่งเสริม องค์กรสวัสดิการชุมชน คณะอนุกรรมการพัฒนาบุคลากรและ มาตรฐาน คณะทำงานส่งเสริม ภาคธุรกิจเพื่อสังคม คณะอนุกรรมการส่งเสริมอาสาสมัคร คณะอนุฯ กำหนด เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐาน คณะอนุฯ สร้างเครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน หมายเหตุ *ได้รับมอบอำนาจจาก คณะกรรมการให้ทำหน้าที่แทน
งานเลขานุการคณะกรรมการงานเลขานุการคณะกรรมการ • การคัดเลือกกันเองและการแต่งตั้งเป็นกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ/จังหวัด (การเลือกกันเองเป็นกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดขอให้ยึดตามระเบียบ พม. ว่าด้วยการเลือกกันเอง การทำคำสั่งแต่งตั้งให้ทำเป็นคำสั่งจังหวัด) • การเบิกจ่ายค่าเบี้ยประชุม ค่าเดินทาง (อาศัยตามพระราชกฤษฎีกาการเบิกจ่ายเบี้ยประชุม สถานะของกรรมการ ประธานอนุกรรมการเทียบเท่าข้าราชการระดับ ๑๐ อนุกรรมการ เทียบเท่าระดับ ๘ ค่าเดินทางเบี้ยเลี้ยงตามระเบียบราชการ) • การแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการ (กรณีผู้ช่วยเลขานุการ หากไม่ระบุจำนวน จะตั้งจำนวนเท่าใดก็ได้ แต่เบิกเบี้ยประชุมได้ไม่เกิน ๒ คน กรณีตั้งเป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการจะตั้งกี่คนก็ได้เบิกได้หมด)
งานเลขานุการคณะกรรมการงานเลขานุการคณะกรรมการ • การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ ตั้งได้ตามความจำเป็น มีข้อจำกัดเบี้ยประชุม ไม่ควรตั้งหลายคณะ แต่หากมีหลายคณะไม่ควรตั้งอนุกรรมการจำนวนมาก • การดำเนินงานคณะอนุกรรมการสวัสดิการผู้สูงอายุจังหวัด เป็นงานฝากของ สท. ให้ตรวจสอบคำสั่งแต่งตั้งและรายงานการดำเนินงานด้วย • การรายงานผลการดำเนินงาน สำนักงาน ก.ส.ค. จะให้จังหวัดรายงานผลการดำเนินงานปีละ ๒ ครั้ง • อื่น ๆ