270 likes | 371 Views
การประชุมสัมมนาเครือข่าย การพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา. นางธีรวัฒนา มีศิลป์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพ นางสาวกรรณิการ์ บารมี ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการประกอบวิชาชีพ. วันพฤหัสบดีที่ 6 สิงหาคม 2552 ณ ห้องประชุมบุณยเกตุ อาคารหอประชุมคุรุสภา สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.
E N D
การประชุมสัมมนาเครือข่ายการประชุมสัมมนาเครือข่าย การพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา นางธีรวัฒนา มีศิลป์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพ นางสาวกรรณิการ์ บารมี ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการประกอบวิชาชีพ วันพฤหัสบดีที่ 6 สิงหาคม 2552 ณ ห้องประชุมบุณยเกตุ อาคารหอประชุมคุรุสภา สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
ศูนย์เครือข่ายพัฒนาวิชาชีพศูนย์เครือข่ายพัฒนาวิชาชีพ ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา นายบุญช่วย ทองศรี ประธานกรรมการบริหารศูนย์เครือข่ายฯ
วัตถุประสงค์ • ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้รวมกลุ่มกัน • เป็นกลุ่ม ศูนย์ ชมรม สมาคม เพื่อร่วมพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง • ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้พัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ • ให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน มีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ • ทักษะวิชาชีพ ความคิดเห็นและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สามารถรักษา • และดำรงไว้ซึ่งความรู้ ความสามารถในการประกอบวิชาชีพของตน
ครู ครู ครู ชมรม ศูนย์ หน่วยพัฒนา สมาคม ศูนย์ ครู ครู ชมรม กลุ่ม กลุ่ม ชมรม คุรุสภา หน่วยพัฒนา หน่วยพัฒนา คุรุสภา ศูนย์ ครู ครู ศูนย์ หน่วยพัฒนา ครู ชมรม ครู สมาคม ครู
ศูนย์เครือข่ายพัฒนาวิชาชีพฯศูนย์เครือข่ายพัฒนาวิชาชีพฯ กรรมการเครือข่ายภาค กรรมการเครือข่ายจังหวัด สมาชิกศูนย์เครือข่ายฯ กลุ่ม ศูนย์ ชมรม สมาคมต่าง ๆ
การพัฒนาเครือข่ายดาวเด่นการพัฒนาเครือข่ายดาวเด่น STAR NETWORK S - System T - Team A - Active learning R - Reflection
วิเคราะห์ความต้องการ ระบบพัฒนาวิชาชีพ ของเครือข่าย(System) ออกแบบกิจกรรมการพัฒนา กำหนดตัวชี้วัด วิธีประเมินผล จัดกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพ ประเมินผล การพัฒนา NO เสริมกิจกรรมพัฒนา yes พัฒนาต่อเนื่อง สรุปผลการเรียนรู้และพัฒนาการ
การทำงานเป็นทีม(Team): แนวคิด - การพัฒนาคุณภาพกับการทำงานเป็นทีม - กระบวนทัศน์การทำงานเป็นทีม - ทักษะการทำงานเป็นทีม - กติกาการทำงานเป็นทีม - กระบวนการพัฒนาทีมงาน
ทักษะการทำงานเป็นทีม - การฟัง : ใส่ใจ สบตา ภาษาท่าทาง - การโต้ตอบ * สร้างบรรยากาศให้อยากพูด * ท้าทายความคิดแต่ไม่คุกคาม * ถามแบบเปิด * ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น - การสะท้อนกลับ (feedback) * ประเมินผลลัพธ์การทำงานของทีม * ปฏิสัมพันธ์ของทีม
กติกาการทำงานเป็นทีม อปริหานิยธรรม 1. หมั่นประชุมเนืองนิตย์ 2. พร้อมเพรียงกันประชุมเลิกประชุม และทำกิจที่พึงทำ 3. ไม่ลืมหลักการที่ตกลงไว้ไม่เสนอสิ่งที่ขัดกับ หลักการเดิม 4. นับถือผู้ใหญ่ 5. เคารพความเห็นของสตรีและผู้ที่อ่อนวัยกว่า 6. เคารพปูชนียบุคคล 7. ปกป้องคุ้มครองคนดี
กระบวนการพัฒนาทีมงาน ติดตามเสริมสร้างทีมอย่างต่อเนื่อง สร้างความร่วมมืออย่างแข็งขัน หันหน้าปรึกษาหารือกันได้ พูดคุยกันแบบเปิดเผย สร้างความไว้วางใจ
การเรียนรู้แบบใฝ่รู้(Active Learning) • เป็นการเรียนรู้ที่ต้องหาความหมายและ ทำความเข้าใจด้วยตนเอง หรือร่วมกันกับเพื่อน เช่น ร่วมสืบค้นหาคำตอบ ร่วมอภิปราย ร่วมนำเสนอ และสรุปความคิดรวบยอดร่วมกัน
Active Learning - การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ - การพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง - การพัฒนาทักษะการคิดชั้นสูง คือ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผล - เกิดเจตคติในการใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความกระตือรือร้น
กิจกรรมพัฒนาวิชาชีพ การอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับความรู้ในสาขาวิชาเฉพาะด้าน เทคนิควิธีการสอน สื่อ นวัตกรรม การประเมินคุณภาพผู้เรียน การรายงานผลการพัฒนาผู้เรียน การสัมมนาวิชาการ ต้องมีประเด็นชัดเจน เป็นเรื่องเด่นและ ประเด็นที่วงการศึกษาหรือสังคมให้ความสนใจ บทสรุปของการพัฒนามีผลให้เกิดการขับเคลื่อนต่อไป การพัฒนาทบทวนสาระการจัดการเรียนการสอน การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
กิจกรรมพัฒนาวิชาชีพ การจัดกระบวนการนิเทศแบบพี่เลี้ยง ( MENTOR ) การทำวิจัยในชั้นเรียน หรือ การวิจัยทางการศึกษา การดูงานด้านการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการ โรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติเป็นเลิศ (Best Practices) การนำเสนอผลงานในรูปแบบนิทรรศการของสมาชิกในกลุ่ม ศูนย์ ชมรม สมาคม
กิจกรรมพัฒนาวิชาชีพ การจัดการความรู้ (Knowledge Management) - เรื่องเล่าเร้าพลัง (story telling) - การทบทวนหลังกิจกรรม (After Action Review: AAR) - ชุมชนนักปฏิบัติ หรือ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Community of Practice : CoP)
การคิดสะท้อน(Reflection) • * การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้และ • ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ • * การเรียนรู้ที่ช่วยพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานของบุคคล • การสะท้อนเกิดจากการคิดอย่างใคร่ครวญ มีเหตุผล • ใช้กระบวนการเรียนรู้ทางอารมณ์หรือความรู้สึกของบุคคล • การเรียนรู้ที่ถือว่าเป็นกระบวนการเชิงคิดวิเคราะห์ เกิดจาก • การสร้างขึ้นใหม่ โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์ • ของบุคคล
ระดับของการคิดสะท้อน 1. ระดับการบรรยายสภาพที่เกิดขึ้น วิพากษ์เนื้อหาที่เกี่ยวกับสภาพที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน และข้อค้นพบ 2. ระดับการประเมินข้อค้นพบ วิพากษ์เชิงประเมินในสิ่งที่ดำเนินการหรือค้นพบว่าดี หรือไม่ดี อย่างไร เพราะอะไร 3. ระดับการอธิบายข้อค้นพบ วิพากษ์เพื่อหาคำอธิบายต่อสิ่งที่ค้นพบ 4. ระดับการประยุกต์ใช้สิ่งที่ค้นพบ วิพากษ์เพื่อนำผลที่ค้นพบไปใช้ประโยชน์ ปรับปรุงแนวปฏิบัติครั้งต่อไป (สุวิมล ว่องวาณิช, 2550)
ตัวอย่างคำถามในการคิดสะท้อนตัวอย่างคำถามในการคิดสะท้อน • ครูให้นักเรียนสอนกันเอง ครูให้มีการรายงานหน้าชั้นให้เพื่อนฟัง ครูแน่ใจได้อย่างไรว่านักเรียนจะได้รับความรู้ ที่ถูกต้องครบถ้วน มีกระบวนการควบคุมเรื่องนี้อย่างไร • งานวิจัยของครูทำให้ผลการเรียนของนักเรียนดีขึ้น แต่ได้คำนึงความวิตกกังวลของนักเรียนหรือเปล่าว่า ได้เพิ่มขึ้นจากเดิมหรือไม่ • ทำไมครูเลือกวิธีนี้มาใช้ในการทดลอง ดูแล้วไม่ต่างจากงานวิจัยก่อนหน้านี้ นวัตกรรมนี้มีอะไรที่แตกต่างไปจากเดิม มีอะไรที่แสดงว่าเป็นสิ่งที่พัฒนาขึ้นมาใหม่
ตัวอย่างคำถามในการคิดสะท้อนตัวอย่างคำถามในการคิดสะท้อน - ครูรู้ได้อย่างไรว่านักเรียนชอบเรียนด้วยวิธีการนี้ ช่วยเล่าวิธีการเก็บข้อมูลให้ฟังหน่อย แน่ใจได้อย่างไร ว่านักเรียนชอบเรียนด้วยวิธีนี้จริง แล้วถ้าหยุดทำวิจัย เขาจะยังคงชอบเรียนวิชานี้หรือเปล่า - ผลการวิจัยประสบความสำเร็จด้วยดี ครูคิดว่าจะ ใช้วิธีนี้อีกหรือไม่ในเทอมต่อไป และจะนำไปใช้ กับวิชาอื่นได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ถ้าให้ครูทำใหม่ ครูคิดว่าจะปรับปรุงเรื่องอะไรบ้าง เพราะอะไร
แบบรายงานการดำเนินงานแบบรายงานการดำเนินงาน รูปเล่มประกอบด้วย 1. ปก 2. คำนำ 3. บทสรุป 4. สารบัญ
5.ผลการดำเนินงาน 5.1 ความเป็นมา 5.2 วัตถุประสงค์ 5.3 กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพ (ระบุรายละเอียด) 5.4 ผลการดำเนินงาน - ประโยชน์ที่เกิดกับสมาชิก - ข้อสรุปประเด็นสำคัญ - บทเรียนที่ได้รับ องค์ความรู้ที่จะนำไปใช้ - แผนการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
6. ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ 7. ภาคผนวก 7.1 รายชื่อสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 7.2 ภาพถ่ายกิจกรรมตามที่ระบุในโครงการ 7.3 ผลงานของสมาชิก เช่น - รายงานการพัฒนาตนเอง - ผลงาน สื่อต่างๆ - นวัตกรรมการสอน - บทความของสมาชิก - แผ่นพับเผยแพร่ผลงาน ฯลฯ ( บรรจุลง CD พร้อมกับเอกสารรายงาน )
การส่งรายงานผลการดำเนินงานการส่งรายงานผลการดำเนินงาน • เก็บไว้ที่ชมรม สมาคม 1 ชุด • ส่งกรรมการภาค 1 ชุด • ส่งศูนย์เครือข่าย ฯ 1 ชุด ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2552
การพัฒนาเครือข่าย • ความยั่งยืนของเครือข่าย • ความต่อเนื่องของกิจกรรม
ร่วมแรงร่วมใจ โยงใยเป็นเครือข่าย ที่เข้มแข็ง เพื่อขับเคลื่อน การพัฒนาวิชาชีพให้ก้าวไกล
ขอขอบคุณที่ร่วมเป็นพลังในการพัฒนาวิชาชีพขอขอบคุณที่ร่วมเป็นพลังในการพัฒนาวิชาชีพ สำนักพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพ www.ksp.or.th โทรศัพท์/โทรสาร 02-280-6366