580 likes | 740 Views
การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู ระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม. วันที่ ๑ - ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเอส ดี อเวนิว. ทบทวนวันวาน. วันที่ สาม - ทัศนคติเรื่องเพศ ( เลือกข้าง) - การยอมรับพฤติกรรม (ปรับ) - ผู้ให้ คำปรึกษา ( คนกับต้นไม้) - ทักษะการฟัง / การสะท้อน / การถาม.
E N D
การอบรมเชิงปฏิบัติการ :การเตรียมความพร้อมครูระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม วันที่ ๑ - ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเอส ดี อเวนิว
ทบทวนวันวาน วันที่สาม - ทัศนคติเรื่องเพศ (เลือกข้าง) - การยอมรับพฤติกรรม (ปรับ) • - ผู้ให้คำปรึกษา (คนกับต้นไม้) • - ทักษะการฟัง / การสะท้อน / การถาม วันแรก ๑. สถานีรู้เขารู้เรา ๒. เส้นชีวิต ๓. ย้อนรอยวัยรุ่น ๔. หนัง Freedom writers วันที่สอง . ดูหนัง “ทางเลือก” - ความหลากหลายของเยาวชน - ทางเลือก / การตัดสินใจ - ข้อมูลเรื่องเพศ - ท้องไม่พร้อม - โอกาสเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวี (แลกน้ำ) - ข้อมูลเรื่องเอดส์ /การอยู่ร่วมกัน (หนังสั้น “หนึ่งวันชีวิตบวก”) สิ่งสำคัญที่ได้เรียนรู้ ? วาดรูป
สิ่งที่ได้เรียนรู้ • โดนบังคับ ........ถึงผ่านกิจกรรมมากมาย.....สิ่งที่เรียนรู้สามารถนำไปขยายผลและพยายามทำให้ได้ • บรรยากาศของโรงเรียนมีหลากหลาย สามารถทำให้มีชีวิตชีวาได้ ต้องอาศัยเวลา • ความรักเป็นเรื่องสวยงาม/ดี • รัก + ป้องกัน • มีความรู้เรื่องการป้องกันที่ชัดเจน • วัยรุ่นมีคำถามและความลับในเรื่องเพศมากมาย • การหาที่ระบายและปรึกษาในเรื่องเพศ • ผู้โอบอุ้ม ช่วยเหลือมีส่วนร่วม โดยโรงเรียนและครอบครัว • การช่วยเหลือด้วยใจ • การฟังด้วยหัวใจ • ฟังมากๆ พูดน้อยๆ • ฟังแล้วไม่ตัดสินถูกผิด • ปรึกษาแล้วมีความสุข
(ร่าง) การอบรมครูเพศวิถีศึกษาเพื่อเยาวชน
Apply วางแผนประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) Do มี/ผ่านประสบการณ์ Analyze/Synthesis คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์ เชื่อมร้อยกับประสบการณ์เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จำลอง” ในการเรียนรู้
สาธิตบทบาทสมมุติ role playการให้การปรึกษา • ให้สังเกตบทบาทของผู้ให้การปรึกษา ว่ามีจุดแข็งและจุดอ่อนที่ควรปรับปรุงในเรื่องใด
บทบาทของผู้ให้การปรึกษา ว่ามีจุดแข็งและจุดอ่อนที่ควรปรับปรุงในเรื่องใด • บางคำถามเหมือนตัดสิน ตำหนิ เช่น รู้ใช่ไหมแล้วทำไมทำ? • น้ำเสียงตำหนิ ตอกย้ำพฤติกรรม • ไม่มีข้อมูลครบถ้วน • ผู้ให้คำปรึกษาฟังแล้วสั่งสอน • เด็กมีความสับสนในการให้ข้อมูล • ควรสร้างข้อตกลงว่าทุกอย่างเป็นความลับ • สภาพของคนที่กังวลในเรื่องท้องไม่พร้อมมีความกังวลน้อยเกินความเป็นจริง • ขาดการสัมผัสบำบัด • ให้กำลังใจ • ชี้แนะให้ผู้รับบริการหาทางออกด้วยตัวเอง • มีการสะท้อนเป็นระยะๆ • รับฟังอย่างใส่ใจ • มีการตั้งคำถามเป็นระยะๆ • บุคคลิกน่าเชื่อถือ ไว้ใจ อบอุ่น • Empowermentการเสริมศักยภาพผู้รับบริการ • Optionมีทางเลือก
การปรึกษาCounseling Counselor ผู้ให้บริการปรึกษา Counselee ( Client ) ผู้รับบริการ
การให้คำปรึกษา • ผูให้คำปรึกษา (Counseller) • ผู้รับบริการ (Clien
ฝึกปฏิบัติการให้คำปรึกษาฝึกปฏิบัติการให้คำปรึกษา • กรณีศึกษา ๑ นิด (ผู้หญิง) อายุ ๑๖ ปี เรียน ปวช. ๒ขณะนี้ตั้งครรภ์ได้ ๘ สัปดาห์ กับคู่ที่เพิ่งคบกันได้ประมาณ ๓ เดือน และยังไม่สามารถติดต่อได้ในขณะนี้ มีเพียงเพื่อนสนิทที่รู้เรื่องนี้ ในเบื้องต้นเมื่อรับรู้ว่าท้อง ก็รู้สึกหนักใจมากและคิดถึงการทำแท้ง • กรณีศึกษา ๒ หนุ่ม อายุ ๑๘ ปี มีแฟนเป็นเพื่อนต่างสถาบัน เพิ่งคบกันได้สองเดือน มีเพศสัมพันธ์กันตลอด โดยไม่ใช้ถุงยาง แต่ใช้การหลั่งข้างนอกทุกครั้ง เมื่อสัปดาห์ก่อนแฟนมาบอกว่า เมนส์ไม่มา หนุ่มกังวลใจมาก กลัวแฟนจะท้อง เพราะกำลังเรียนอยู่ ปวช.๓ และพ่อแม่ก็ยังไม่ได้รับรู้การมีแฟนของหนุ่ม
ฝึกปฏิบัติการให้คำปรึกษาฝึกปฏิบัติการให้คำปรึกษา • กรณีศึกษา ๓ มายด์ผู้หญิงหน้าตาดี เรียนปวช. ๒ ติดเชื้อเอชไอวีมาตั้งแต่เกิด กินยาต้านไวรัสทุกวัน ตอนนี้สุขภาพแข็งแรง ไม่มีใครรู้ว่ามายด์ติดเชื้อเอชไอวี นอกจากปู่กับย่า ที่ผ่านมาปู่กับย่าพูดตลอดว่าอย่าไปมีแฟน มันเป็นบาป เรามีกรรม มายด์รู้สึกอึดอัด คับแค้นใจว่าทำไมต้องต่างจากคนอื่น อยากใช้ชีวิตเหมือนเพื่อนคนอื่นๆ และตอนนี้อยากไปเที่ยวกับเพื่อนๆ ที่ต่างจังหวัดมีทั้งเพื่อนผู้ชายและผู้หญิง แต่ปู่กับย่าไม่อนุญาติ จะทำยังไงดี
“บริการสุขภาพที่เป็นมิตร” สำหรับเยาวชน • การรักษาความลับ/ส่วนตัว • ไม่เกิดการตีตรา • ได้มาตรฐาน • ครบวงจร • ฟรีหรือจ่ายน้อยที่สุด • ที่ตั้งหน่วยบริการเหมาะสม • เอื้อต่อวิถีชีวิตของผู้ใช้บริการ เช่นเวลาทำการ • บรรยากาศแห่งความเข้าใจ • การบอกบริการเชิงรุก
บริการสุขภาพทางเพศที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น • ตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวีและซิฟิลิส • ตรวจรักษาโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ • ตรวจหามะเร็งปากมดลูก • คุมกำเนิด บริการฟรี สอบถามข้อมูล: 08-5340-0043
ความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ คลีนิคออนไลน์-แช็ตกับพยาบาล/หมอ
“ก้าวย่างอย่างเข้าใจ”“ก้าวย่างอย่างเข้าใจ” หลักสูตรเพศศึกษาและ การพัฒนาทักษะการดำเนินชีวิต
ไก่กับแดง ไก่กับแดงเป็นเพื่อนสนิทกัน ทั้งสองชอบที่จะไปชอปปิ้งตามศูนย์การค้าหรูๆอยู่เสมอ วันหยุดที่ผ่านมาไก่กับแดงนัดกันไปชอปปิ้งที่ศูนย์การค้าสยามเซ็นเตอร์ เพื่อหาซื้อเสื้อผ้ายี่ห้อดังๆ ที่กำลังลดราคา ทั้งคู่นัดพบกันที่บันไดเลื่อนชั้น ๑ ในศูนย์การค้าเวลาเที่ยง เมื่อถึงวันนัดไก่ไปถึงก่อนเวลานัดและคอยที่บริเวณบันไดเลื่อนชั้น ๑ ตามที่ได้นัดหมายไว้ ไก่คอยอยู่บริเวณนั้นเป็นชั่วโมง โดยไม่กล้าเดินไปที่อื่น เพราะเกรงว่าถ้าแดงมาแล้วจะคลาดกันได้ แต่แดงก็ยังไม่มา ไก่เลยโทรศัพท์ไปหาแดง ปรากฏว่าติดต่อไม่ได้เลย ไก่รู้สึกไม่พอใจที่แดงมักผิดนัดกับตนอยู่บ่อยๆ ไก่เลยตัดสินใจเดินดูของตามที่ตั้งใจ แล้วก็กลับบ้านด้วยอารมณ์ที่ไม่สู้ดีนัก
เกิดจาก... ค ส่งผล... . อนุมาน
กิจกรรม Closing: “ทบทวนหลักการเรียนรู้”
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ • การเคารพ (Respect) • การรอ (Waiting) • การเชื่อมโยงประเด็น (Weaving) • การสร้างความรู้สึกความเป็นส่วนหนึ่ง (Inclusion) • ความเกี่ยวข้องของประเด็นเนื้อหากับประสบการณ์ผู้เรียน (Relevancy) • การคำนึงถึงการนำไปปรับใช้ (Immediacy) • การสรุปสาระสำคัญในแต่ละเรื่องร่วมกับผู้เรียน • อื่นๆ .......................................... การใช้คำถามเปิด (Open Questions) สไตล์การเรียนรู้(การอ่าน/ดู, การฟัง, การลงมือทำ) การสร้างความรู้สึกปลอดภัย (Safety) การใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่าน ประสบการณ์ และ 4As model การฟัง สื่อสารสองทาง (Dialogue) การสร้างการมีส่วนร่วม (Engagement) ความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน (Accountability)
หลักการที่น่าจะถูกใช้มากกว่านี้หลักการที่น่าจะถูกใช้มากกว่านี้
กิจกรรมรู้ว่าเสี่ยง แต่...
ทุกครั้ง๑๐๐% บ่อยครั้ง๘๐% บางครั้ง๕๐% น้อยครั้ง/ไม่เคยเลย
ทุกครั้ง๑๐๐% บ่อยครั้ง๘๐% คุณทำพฤติกรรมเหล่านี้ได้แค่ไหน ? บางครั้ง๕๐% น้อยครั้ง/ไม่เคยเลย
ฉันคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้งที่นั่งรถ หรือใส่หมวกกันน็อคทุกครั้งที่ขับขี่มอเตอร์ไซด์ • ฉันเลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์และงดอาหารทุกชนิดที่ทำให้อ้วน
ไม่คาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้งที่นั่งรถ หรือไม่ใส่หมวกกันน็อคทุกครั้งที่ขับขี่มอเตอร์ไซด์ เสี่ยงต่อ... อุบัติเหตุ • ไม่เลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์และไม่งดอาหารทุกชนิดที่ทำให้อ้วน เสี่ยงต่อ....โรคภัยไข้เจ็บ, สุขภาพ, ไม่สวย
๑๐๐%(๓) เพื่อความปลอดภัยของตัวเอง เคยชิน ๘๐%(๑๐) มีเวลาเพียงพอ ไปไกล กลัวตำรวจจับ รีบ ลืม ไปใกล้ๆ ในซอย ไม่มีหมวกกันน็อค ๕๐%(๘) กลัวตำรวจจับ สะดวก ไปไกล รู้ว่าประมาทแต่ไม่คาด รีบ อึดอัด ไปใกล้ๆ รู้ว่าประมาท แต่ไม่คาด น้อยมาก/ไม่เคยเลย (ไม่มี) คาดเข็มขัดนิรภัย หรือ ใส่หมวกกันน็อคทุกครั้ง
เลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์และงดอาหารทุกชนิดที่ทำให้อ้วนเลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์และงดอาหารทุกชนิดที่ทำให้อ้วน • ๕๐% (๙) • อยากเลือกที่มีประโยชน์ • คิดถึงประโยชน์ /ห่วงสุขภาพ • สุขภาพเริ่มป่วย • เลือกไม่ได้ ของฟรี • ของน่ากิน อยากกิน • ง่าย เคยชินกับการกินร้านเดิม • ไม่เคยอ้วน เวลาน้อย • น้อยมาก/ไม่เคยเลย (๕) • เอ็นโดโมฟี มีความสุข ยังไงก็ตาย • ตามใจปาก ชอบ กินไว้ก่อน • กินก็ไม่อ้วน อ้วนก็ไม่เป็น เก่งได้ • อาชีพครู เหนื่อย • เคยมีอาการป่วย หมอบอกให้ลดก็ไม่หาย • ๑๐๐% (๑) • เมียเป็นคนทำกับข้าว • เมียสั่ง • ไม่มีโอกาส • ๘๐% (๔) • เป็นครูสอนสุขศึกษา รู้/มีข้อมูล • เห็นประโยชน์ • เห็นคนใกล้ตัวป่วย • ไม่มีโอกาสให้เลือก /เลือกไม่ได้ • อร่อย /รู้รสชาติอื่นๆ • อดใจไม่ได้
ฉันคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้งที่นั่งรถ หรือใส่หมวกกันน็อคทุกครั้งที่ขับขี่มอเตอร์ไซด์ • ฉันเลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์และงดอาหารทุกชนิดที่ทำให้อ้วน
ข้อสังเกต • เป็นเรื่องของตัวเอง • รู้ว่าเสี่ยง แต่ก็ทำ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ต้องทำอะไรบ้าง • ฝึก และลองทำบ่อยๆ • ทำให้เห็นผลกระทบที่ตามมา • ทำให้รู้สึกว่าอยากเปลี่ยน / แรงจูงใจ • สร้างสภาพแวดล้อม / คนรอบข้าง เอื้อต่อการเปลี่ยน
“รณรงค์วัยรุ่น ไม่ให้มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน” ส่วนใหญ่ทำได้ ๘๐% เชื่อ/ทำตาม๑๐๐% ทำได้น้อย/ห้ามไม่ได้เลย ครึ่ง-ครึ่ง๕๐%
เด - เด็ก การห้ามวัยรุ่น ไม่ให้มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน”
สังคม การทำพฤติกรรมใหม่อย่างต่อเนื่อง การลองทำพฤติกรรมใหม่ เกิดแรงจูงใจที่จะทำ ปรับความคิด/มีทักษะ เกิดความรู้/ความตระหนัก ไม่ตระหนัก บุคคล กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • ความรู้ และข้อมูลเป็นเพียงจุดเริ่มต้น แต่ไม่เพียงพอที่จะทำให้เปลี่ยนพฤติกรรม • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นเรื่องไม่ง่าย เปลี่ยนได้ แต่ใช้เวลา และความพยายามต่อเนื่อง • การให้ข้อมูลที่ทำให้เกิดความกลัวมีข้อจำกัดในการกระตุ้นให้เปลี่ยน พฤติกรรม • พฤติกรรม ของแต่ละคนแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงวัย/สภาพแวดล้อม • พฤติกรรมบุคคลเป็นผลจากค่านิยมและการให้คุณค่าในสังคม • บุคคลจะยอมรับพฤติกรรมใหม่ง่ายขึ้น ถ้ารู้สึกว่าตัวเองสามารถทำได้ • การเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคลเกี่ยวพันกับแบบแผนการปฏิบัติของชุมชนและสภาพแวดล้อมด้วย
รู้ว่าเสี่ยง...แต่ “เหตุผล” “ข้ออ้าง/ข้อแก้ตัว” โจทย์: • คนที่อยู่ในบทบาททำงานเปลี่ยนพฤติกรรม มักคิดว่า “พฤติกรรม” เปลี่ยนง่าย • คนมักเลือกใช้วิธีการให้ความรู้เป็นหลัก แล้วหวังว่า คนจะเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • คนคิดว่า “คนอื่น” จะให้ความสำคัญในเรื่องต่างๆ (ความเสี่ยงในชีวิต) เหมือนตัวเอง • เหตุผลของ “คนนอก” และ “คนใน” ต่างกัน
“...ไม่ว่าจะชอบ หรือไม่ชอบการกระทำใดก็ตาม ความจำเป็นประการแรกในอันที่จะควบคุมพฤติกรรมใด ต้องเริ่มต้นที่เข้าใจพฤติกรรมนั้นในทุกแง่มุมเสียก่อน...” ศ.นิธิ เอียวศรีวงศ์ มองและเข้าใจตัวเอง เพื่อเข้าใจคนอื่น
Apply วางแผนประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) Do มี/ผ่านประสบการณ์ Analyze/Synthesis คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์ เชื่อมร้อยกับประสบการณ์เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จำลอง” ในการเรียนรู้
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรรม ต้อง.... • ระมัดระวังเรื่องการถ่ายทอดข้อมูลซึ่งต้องรอบด้าน • คำนึงถึงสภาพแวดล้อม หรือเงื่อนไขที่ส่งผล
(ร่าง) การอบรมครูเพศวิถีศึกษาเพื่อเยาวชน