1.64k likes | 1.71k Views
การวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา. รศ.ดร.วิชิต สุรัตน์เรืองชัย ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. การวิจัยคืออะไร. คือ กระบวนการที่เป็นระบบในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจุดมุ่งหมายใด ๆ.
E N D
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.วิชิต สุรัตน์เรืองชัยภาควิชาหลักสูตรและการสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
การวิจัยคืออะไร คือ กระบวนการที่เป็นระบบในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจุดมุ่งหมายใด ๆ Research is a systematic process of collecting and logically analyzing information for some purpose.
การวิจัยมีหลายประเภท -การวิจัยเชิงปริมาณ (QuantitativeResearch) -การวิจัยเชิงคุณภาพ (QualitativeResearch)
- การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) - การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) - การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historical Research)
การวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action Research) • การวิจัยและพัฒนา (Research & Development)
ขั้นตอนทั่วไปของการวิจัยขั้นตอนทั่วไปของการวิจัย • ระบุปัญหาการวิจัย • ศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • เก็บรวบรวมข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูล • สรุปผลการวิจัย
ตัวแปรคืออะไร ลักษณะหรือปรากฏการณ์ที่มีค่าได้หลายค่า • บุคลิกภาพ วิธีสอน การใช้สื่อ การเสริมแรง การลงโทษ ของอาจารย์ • เพศ อายุ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะ เจคติ ของนักศึกษา
ประเภทของตัวแปร • ตัวแปรอิสระ(Independent variables) • ตัวแปรตาม(Dependent variables) • ตัวแปรแทรกซ้อน(Extraneous variables) • ตัวแปรสอดแทรก(Intervening variables)
การวิจัยการเรียนการสอนการวิจัยการเรียนการสอน
Curriculum & Instruction(Tyler. 1949) Objectives students Learning Evaluation
Curriculum & Instruction Objectives Learning Evaluation Input Process Output outcome Feedback Efficiency Effectiveness
Research on Input : • ตัวแปรเกี่ยวกับผู้สอน • ตัวแปรเกี่ยวกับผู้เรียน • ตัวแปรเกี่ยวกับหลักสูตร • ตัวแปรเกี่ยวกับปัจจัยแวดล้อม • ฯลฯ
Research on Process : • ตัวแปรเกี่ยวกับการสอน • ตัวแปรเกี่ยวกับการเรียนรู้ • ตัวแปรเกี่ยวกับการจัดการในชั้นเรียน • ตัวแปรเกี่ยวกับการใช้สื่อการเรียนรู้ • ตัวแปรเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล
Research on Output : • ตัวแปรเกี่ยวกับผลการเรียนรู้ • ตัวแปรเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ • ตัวแปรเกี่ยวกับ ฯลฯ
Research on Outcomes : • ตัวแปรเกี่ยวกับภาวะการมีงานทำของบัณฑิต • ตัวแปรเกี่ยวกับคุณภาพของบัณฑิต • ตัวแปรเกี่ยวกับผลกระทบอื่นๆ
ตัวอย่างผลงานจากการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนตัวอย่างผลงานจากการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
Project-Based Learning Brainstorm for Project Interest Project Preparation Modify Action and Management Self AssessmentLearning Assessment Fa Assessment Planning of theirPresentation own Learning New Knowledge Learning by Doing Searching Information from Show and Share Internet and Others Learning with Fa and Professional... (พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา, 2548)
Problem-Based Learning Problem, Project, Or Assignment Group Discussion Assessment Research Overview Group Discussion Mini-Lecture Preparation of Whole Class Group Product Discussion (Boud,1985)
Result-Based Learning วิชิต สุรัตน์เรืองชัย, 2547 SWOT Analysis Small group Vision Whole group Mission Goal Action Plan 1 Action Plan 2 Learning by doing Learning by doing Presentation Presentation Assessment Assessment
STIM Problem Research Assessment New knowledge Presentation Group discussion
What research on Curriculum and Instruction dealing with ? • Human growth and development • Applied and action research rather than basic research • Numerous variables both dependents and their antecedents • Proceed in real situation rather than simulation
การวิจัยในชั้นเรียน (Action Research)
Definition Action Research is a three-stepsspiral process of (1) planning which involves reconnaissance (2) taking actions, and (3) fact-finding about the results of the action. (Kurt Lewin. 1947)
Action Research is the process by which practitioners attempt to study their problems scientifically in order to guide, correct, and evaluate their decisions and actions. (Stephen Corey. 1953)
Action Research in education is study conducted by colleagues in a school setting of the results of their activities to improve instruction. (Carl Glickman. 1992)
Action Research is a fancy way of saying let’s study what’s happening at our school and decide how to make it a better place. (Emily Calhoun 1994)
The Purpose of Action Research The purpose of action researchis to solve practical problems through the application of the scientific method. (Gay. 1996 : 10)
ความเป็นมา • Kurt Lewin (1946) นักจิตวิทยาสังคมชาวอเมริกันเป็น ผู้ริเริ่มการทำและบัญญัติคำว่า Action Research • กระบวนการทำ Action Research มีการปรับปรุงและนำไปใช้อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในวงการศึกษา • ปัจจุบันมีการใช้ Action Research ในฐานะเป็นวิธีการวิจัย เป็นเทคนิคการสอน เป็นเทคนิคการฝึกอบรม เป็นเทคนิคการพัฒนาบุคคล ฯลฯ (Zuber – Skerritt. 1992)
ลักษณะสำคัญของAction Research • Action Researchไม่ใช่วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ที่เน้นการทดสอบสมมุติฐานด้วยวิธีการทางสถิติเพื่อบรรยาย อธิบาย หรือควบคุมปรากฏการณ์ ไม่เน้นการอ้างอิงผลจากกลุ่มตัวอย่างไปยังประชากร • Action Researchเป็นวิธีการทางสังคมศาสตร์ ที่เน้นการแก้ปัญหา ปรับปรุง พัฒนาการเรียนการสอน โดยใช้วิธีการต่าง ๆ ตามสถานการณ์ เน้นการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
Action Researchไม่ใช่การวิจัยที่ผู้เชี่ยว ชาญภายนอกเข้ามาวิจัยในชั้นเรียน แต่ผู้ปฏิบัติต้องดำเนิน การเองภายใต้บริบทที่แท้จริง • Action Researchไม่ใช่กระบวนการปฏิบัติงานตามปกติหรือการแก้ปัญหาง่าย ๆในชีวิต ประจำวัน (Kemmis and McTaggart. 1990 )
กระบวนการวิจัย Plan Reflect Act Observe (Zuber – Skerritt. 1992)
ขั้นตอนการทำAction Research • ระบุปัญหาที่ต้องการแก้ไข • ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน • วางแผน • ปฏิบัติตามแผน • สังเกตผลการปฏิบัติ • สรุป/สะท้อนผลผล (Zuber-skerritt. 1992
กรอบความคิดของการวิจัยในชั้นเรียนกรอบความคิดของการวิจัยในชั้นเรียน วางแผนจัดการเรียนรู้ ระบุปัญหา จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ประเมินผลการเรียนรู้ มีปัญหาวางแผนแก้ปัญหา รายงานผล ปฏิบัติตามแผน สังเกตผล ไม่มีปัญหา สรุปผล
ปัญหาคืออะไร ? • ปัญหา คือ ความแตกต่างระหว่างสิ่งที่คาดหวังกับสิ่งที่เป็นจริง
ขอบข่ายและที่มาของปัญหาขอบข่ายและที่มาของปัญหา หลักสูตร ผู้เรียน สังเกต ผู้สอน ปัญหา สื่อการสอน สภาพแวดล้อม C L A S S R O O M
ปัญหาผู้เรียน • ผลการเรียน Cognitive Domain Affective Domain Psychomotor Domain • พฤติกรรมการเรียน Learning Behavior Personnel Behavior
เทคนิคการระบุปัญหา • กำหนดสิ่งที่คาดหวัง • ตรวจสอบสิ่งที่เกิดขึ้นจริง • เปรียบเทียบสิ่งที่เกิดขึ้นจริงกับสิ่งที่คาดหวัง • ระบุปัญหา
ตัวอย่างการระบุปัญหา สิ่งที่คาดหวัง • นักศึกษามากกว่าร้อยละ 90 สนใจการเรียนวิชาภาษาไทย สิ่งที่เป็นจริง • มีนักศึกษาเพียงร้อยละ 40 ที่สนใจการเรียนวิชาภาษาไทย ปัญหา • นักศึกษาส่วนหนึ่งไม่สนใจการเรียนวิชาภาษาไทย
ขั้นที่ 2 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
การศึกษาข้อมูลพื้นฐานการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน พรรณนาข้อเท็จจริง วิ เคราะห์ ข้อ มูล อธิบายสาเหตุของปัญหา
เทคนิคการพรรณนาข้อเท็จจริงเทคนิคการพรรณนาข้อเท็จจริง • สังเกตชั้นเรียน • สอบถามผู้เกี่ยวข้อง • สัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง • ทดสอบ • ศึกษาวิเคราะห์เอกสาร
ตัวอย่างข้อเท็จจริงที่ผู้วิจัยควรทราบตัวอย่างข้อเท็จจริงที่ผู้วิจัยควรทราบ • ใครบ้างที่ไม่สนใจการเรียน • ประวัติส่วนตัวของผู้ที่ไม่สนใจการเรียน • ในขณะที่ไม่สนใจการเรียน เขาทำอะไรบ้าง • วิชาอะไรบ้างที่เขาไม่สนใจการเรียน • ช่วงเวลาใดที่เขาไม่สนใจการเรียน • เวลาว่างนอกชั้นเรียนเขาทำอะไร
เทคนิคการอธิบายสาเหตุของปัญหาเทคนิคการอธิบายสาเหตุของปัญหา • พิจารณาข้อเท็จจริงทุกแง่มุม • ตั้งสมมติฐาน • พิสูจน์สมมติฐาน • สรุปสาเหตุของปัญหา
ตัวอย่างการอธิบายสาเหตุของปัญหาตัวอย่างการอธิบายสาเหตุของปัญหา • เนื้อหาวิชาไม่น่าสนใจ • วิธีสอนน่าเบื่อหน่าย • มีเสียงดังจากนอกห้องเรียนรบกวน • สภาพห้องเรียนอึดอัด อากาศร้อนเกินไป • นักศึกษาสุขภาพไม่ดี มีความพิการบางอย่าง • นักศึกษามีระดับสถิติปัญญาต่ำ
ขั้นที่ 3 วางแผนแก้ปัญหา
การวางแผนแก้ปัญหา • กำหนดวัตถุประสงค์ • กำหนดกลุ่มเป้าหมาย ภูมิปัญญา • กำหนดวิธีการ/เครื่องมือแก้ปัญหา อภิปราย ความรู้ • จัดทำแผนปฏิบัติ ประสบการณ์ • กำหนดวิธีสังเกตผลและ ระดมความคิด ของกลุ่มวิจัย วิเคราะห์ข้อมูล
ตัวอย่างการกำหนดวัตถุประสงค์ตัวอย่างการกำหนดวัตถุประสงค์ • เพื่อเสริมสร้างความสนใจในการเรียนวิชาภาษาไทยให้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 1
ตัวอย่างการกำหนดกลุ่มเป้าหมายตัวอย่างการกำหนดกลุ่มเป้าหมาย • กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการแก้ปัญหาในครั้งนี้ ได้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา.....................ภาคเรียนที่...........จำนวน.........คน
ตัวอย่างการกำหนดวิธี/เครื่องมือแก้ปัญหาตัวอย่างการกำหนดวิธี/เครื่องมือแก้ปัญหา • ใช้เทคนิคการถามตอบ (Quiz)