100 likes | 350 Views
มารู้จัก e-GP กันเถอะ. หนังสือ กค. ด่วนที่สุด ที่ กค. ๐๔๐๙.๓/ว ๔๐๓ ลง ๘ ต.ค. ๕๕.
E N D
หนังสือ กค.ด่วนที่สุด ที่ กค. ๐๔๐๙.๓/ว ๔๐๓ ลง ๘ ต.ค. ๕๕ กำหนดให้ส่วนราชการทุกส่วนงานของรัฐที่ได้รับจัดสรรเงินงบประมาณต้องดำเนินการบันทึกข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในระบบ e-GP เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงไปยังระบบ GFMIS Web Online โดยให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ ต.ค. ๒๕๕๕ หากส่วนราชการไม่ได้เชื่อมโยงข้อมูลจากระบบ e-GP จะสร้างใบสั่งซื้อสั่งจ้างในระบบ GFMIS Web Online ไม่ได้
e-GP คืออะไร • e-GP คือ ศูนย์กลางที่เป็นหน้าต่างในการบริการข้อมูล และดำเนินธุรกรรมทางการจัดซื้อจัดจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
กรอบการดำเนินงาน 1 2 3 4
11. จัดทำรายงานผลการพิจารณา ผู้ชนะและอนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง 12. ประกาศผู้ชนะ 15. บริหารสัญญา ตรวจรับ และอนุมัติเบิกจ่าย 13. เซ็นสัญญา 14. จัดทำใบ PO 16. ลงทะเบียนทรัพย์สินตั้งเบิก/เบิกจ่าย ภาพรวมกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ระบบ e-GP 6. จัดทำประกาศ เชิญชวน 4. จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง และแต่งตั้งคณะกรรมการ 7. แจกจ่าย/ขายเอกสารให้กับผู้ค้าที่สนใจ 5. จัดทำเอกสารสอบราคา/ ประกวดราคา/ประกวดแบบ 2. จัดทำแผนการจัดซื้อ จัดจ้าง ประจำปีงบประมาณ 8. รับข้อเสนอหรือผู้ค้ายื่นข้อเสนอ 3. จัดทำโครงการ จัดซื้อจัดจ้าง 1. ได้รับงบประมาณ ประจำปี 9. คัดเลือก/ประกาศผู้ที่ผ่านคุณสมบัติ 10. คัดเลือกผู้ชนะการเสนอราคา นำข้อมูลงบประมาณ จาก GFMIS เข้า e-GP ระบบ GFMIS นำข้อมูล PO จาก e-GP เข้า GFMIS
การเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานอื่นการเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานอื่น
ขั้นตอนการเชื่อมโยงระหว่าง e-GP กับ GFMIS • การเชื่อมโยง PO ตรวจสอบข้อมูลหลักผู้ขายจากฐานข้อมูลระบบ GFMIS ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง สำหรับจัดทำ PO ค้นหาเลขที่ โครงการ สัญญา Update สถานะในระบบ ข้อมูลเลขที่ PO และ สถานะการเบิกจ่าย จัดทำ PO
การเชื่อมข้อมูลในระบบจากระบบ e-GP ไปยังระบบ GFMIS
ขั้นตอนการเชื่อมโยงระหว่าง e-GP กับ GFMIS • การเชื่อมโยงการตรวจรับพัสดุ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง สำหรับการตรวจรับ ตรวจรับพัสดุ ค้นหาเลขที่ PO ค้นหาเลขที่คุมตรวจรับจากระบบ e-GP จัดทำใบตรวจรับในระบบ Update สถานะในระบบ ตั้งเบิก Update สถานะในระบบ อนุมัติการตั้งเบิก Run Payment และจ่ายเงินให้ผู้ค้า Update สถานะในระบบ