1 / 60

การพัฒนาหัวข้อวิจัยจากคำถามเจ็ดประการ

การพัฒนาหัวข้อวิจัยจากคำถามเจ็ดประการ. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สงครามชัย ลีทองดี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม songkramchai@gmail.com , 080-7429991. 1. แนวคิดและนโยบาย นายแพทย์สาธารณสุขจังวัดยโสธร.

Download Presentation

การพัฒนาหัวข้อวิจัยจากคำถามเจ็ดประการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาหัวข้อวิจัยจากคำถามเจ็ดประการการพัฒนาหัวข้อวิจัยจากคำถามเจ็ดประการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สงครามชัย ลีทองดี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม songkramchai@gmail.com, 080-7429991 1

  2. แนวคิดและนโยบาย นายแพทย์สาธารณสุขจังวัดยโสธร • นักสาธารณสุขเป็นนักวิชาชีพ ทำหน้าที่จัดบริการ ยังไม่สามารถตอบคำถามเชิงวิชาการได้ไม่ดีนัก • การให้บริการและทำงานควบคู่ไปการทำงานวิชาการแบบง่ายๆ และเอางานประจำมาทำให้เป็นงานวิจัย • กระทรวงและเขต กำลังอยู่ในช่วงปฏิรูป คณะกรรมการบริหารเครือข่าย เป็นแกนนำเชิงบริหาร เพื่อรับผิดชอบมิติการจัดบริการที่อยู่ในพื้นที่เฉพาะในระดับเขต • การทำงานวิจัยแบบง่ายๆไม่ซับซ้อนเป็นความสำคัญ เป็นการนำวิชาการมาตอบคำถามเพื่อให้เกิดการบริการที่ดี

  3. สสจ ยโสธร เน้นให้เกิด งานวิจัยทุกแห่ง รพสต ๑๑๒ แห่ง เปิดเวทีการสนับสนุนให้เกิดการปรับไปสู่การปฏิบัติ และให้จัดกิจกรรมเป็นขั้นตอน เป็นการประชุมเชิงปฏิบัติการ ทำไปและจัดให้ครบกระบวนการ • บางงานเป็นงานที่ทำประจำอยู่แล้ว มีมากมายหลากหลายนวัตกรรม เราจะต้องเรียนรู้และนำมาประยุกต์ใช้ จะเชื่อมโยงนโยบายไปสู่การปฏิบัติควรเป็นอย่างไร ทำให้เป็นวิจัยได้อย่างไร • แต่ละขั้นตอนอยากให้เห็นการเปลี่ยนแปลงและมีความก้าวหน้า • มิถุนายน ๕๗ ต้องมีงานนำเสนอที่ อาจจะเป็น ศรีสะเกษ เป็นเจ้าภาพ หรือเวทีอื่นๆที่เป็นที่ยอมรับ

  4. ทาง สสจ ยโสธรพร้อมจะสนับสนุน และให้เกิดการพัฒนางาน • การประชุมจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนางานประจำที่ทำให้ไม่ยุ่งยากซับซ้อน อยากได้ผลงานเผยแพร่ ทั้งหมดยิ่งดี พร้อมที่จะสนับสนุน

  5. สรุปประเด็น • สนับสนุน • โอกาส • การใช้งานวิจัยในการประเมินผลการทำงาน • เป้าหมายและความขาดหวัง • Triangulation

  6. วัตถุประสงค์ของหน่วยการเรียนรู้วัตถุประสงค์ของหน่วยการเรียนรู้ • อธิบายหลักการวิจัยพื้นฐานได้ • อธิบายหลักการตั้งคำถามเพื่อการพัฒนาหัวข้อวิจัยผ่านคำถาม 7R’s ได้ • ประยุกต์หลักการ 7R’s ในการพัฒนาหัวข้อวิจัยได้ • เลือกประเด็นเพื่อพัฒนาไปสู่หัวข้อวิจัยได้

  7. หัวข้อ • หลักการวิจัยพื้นฐาน • คำถาม 7R’s • การประยุกต์ 7R’s

  8. Data, Information, Knowledge, Learning LEARNING/WISDOM experiences in more applications KNOWLEDGE beliefs, assumptions, application INFORMATION DATA meaning relationship phenomena

  9. Dimension of Wisdom

  10. ลำดับการสร้างความรู้และปัญญาลำดับการสร้างความรู้และปัญญา • ข้อมูล data • สารสนเทศ information • ความรู้ knowledge • ปัญญา wisdom การเรียนรู้ Learning • จริยธรรม ethic • ปรัชญา philosophy

  11. ตัวแปร (Variable) สัญลักษณ์ที่นักวิจัยกำหนดค่าเป็นตัวเลข แทนเหตุการณ์ พฤติกรรม ลักษณะ หรือสิ่ง ที่ต้องการศึกษา ซึ่งแปรค่าได้ สามารถวัดข้อมูลของตัวแปรได้ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ Quantitative data and Qualitative data

  12. ระดับการวัดของตัวแปรเชิงปริมาณ • มาตรานามบัญญัติ (nominal scale) • มาตราเรียงอันดับ (ordinal scale) • มาตราอันตรภาค (interval scale) • มาตราอัตราส่วน (ratio scale)

  13. วิธีการวัดข้อมูลเชิงคุณภาพวิธีการวัดข้อมูลเชิงคุณภาพ • การทบทวนเอกสาร Documentation • การสัมภาษณ์ Interview • การสนทนากลุ่มย่อย Focus group • การสังเกต Observation

  14. การทบทวนข้อมูลเอกสาร Documentation • การทบทวนจากแหล่งข้อมูลทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ • รวบรวม • วิเคราะห์ • สังเคราะห์ • สร้างเป็นเรื่องราว

  15. วิธีการทบทวนวรรณกรรม • ทบทวนแนวคิดหรือทฤษฎีเกี่ยวกับเรื่องนั้นที่เกี่ยวข้อง • ทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ • ทบทวนสถานการณ์นั้นๆในปัจจุบัน

  16. การสัมภาษณ์ Interview • สัมภาษณ์เชิงลึกเชิงโครงสร้าง • สัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง • สัมภาษณ์เชิงลึกแบบไม่มีโครงสร้าง

  17. การสนทนากลุ่มย่อย Focus group • คล้ายกับการสัมภาษณ์แต่ทำเป็นกลุ่ม • กลุ่มประมาณ แปดถึง สิบสองคน • มีผู้ดำเนินการ Moderator • มีผู้ให้ข้อมูลหลัก Key Informant • มีประเด็น • มีระบบการบันทึก

  18. การสังเกต Observation • สังเกตแบบมีส่วนร่วม insider • สังเกตแบบเป็นคนนอก Outsider

  19. ระดับของการวิจัย • Descriptive research X and Y • Analytical Research X x Y • Prediction Research X predict Y

  20. Level of Research X Y X x Y Prediction and Control X and Y Explanation descriptive

  21. การพัฒนาหัวข้อวิจัยผ่านคำถาม7 R’s

  22. กรอบการพิจารณาเกี่ยวกับการสร้างกรอบแนวคิดวิจัยกรอบการพิจารณาเกี่ยวกับการสร้างกรอบแนวคิดวิจัย • แนวคิดวิจัย Research Idea • ปัญหาวิจัย Research Problem • การออกแบบวิจัย Research Design • คำถามวิจัย Research Question • วัตถุประสงค์วิจัย Research Objective • กรอบแนวคิดวิจัย Research Framework • หัวข้อวิจัย Research Topic

  23. 1. Research Idea • เป็นการระบุว่าการศึกษาครั้งนี้สนใจในประเด็นใด เรื่องใด เป็นสำคัญวิจัยในคราวนี้ • หลักการสำคัญเป็นการบอกให้ทราบว่าจะใช้หลักการแนวคิดใดเป็นสำคัญในการศึกษาครั้งนี้ • แนวคิดที่กล่าวถึงนั้นเป็นเรื่องที่อยู่ในการรับรู้ทั่วๆไปในวงวิชาการหรือการทำงานในสาขาที่ตนเกี่ยวข้อง

  24. ตัวอย่าง • แนวคิดการกระจายอำนาจ • แนวคิดการปฏิรูประบบสุขภาพ • การจัดการมูลฝอย • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ • การควบคุมและป้องกันโรค • การคลังสุขภาพ • การพัฒนาคุณภาพ

  25. 2. Research Problem • ปัญหาคือช่องว่างระหว่างความคาดหวังกับความจริงที่เป็นอยู่ • ต้องบอกให้ได้ว่าปัญหาวิจัยคืออะไร • ปัญหาวิจัยคือปัญหาที่เกิดขึ้นจริง ที่มีหลักฐานประกอบอย่างชัดเจนและต้องการจะหาคำตอบให้ได้ในการศึกษาคราวนี้ • การสนับสนุนข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาวิจัยนั้นอาจจะต้องใช้ข้อมูลทั้งทางตรงและทางอ้อมมาประกอบการอธิบายหรือเรียกอีกอย่างว่ามีข้อมูลเชิงประจักษ์มาประกอบ Evidence based =EB

  26. Problem Statement Expectation Gap Actual

  27. ตัวอย่าง • มีอุบัติการณ์ของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่สูง • ผลการดำเนินงานยังไม่ผ่านเกณฑ์ • การไม่บรรลุเป้าหมายของ.....

  28. What • Why • how

  29. 3. Research Design • ตัดสินใจว่าจะออกแบบการศึกษาแบบไหน • การวิจัยเชิงพรรณนาหรือสำรวจ • การวิจัยเชิงทดลอง • การวิจัยกึ่งทดลอง • การวิจัยเชิงคุณภาพ • ต้องเข้าใจความต่างในการวิจัยแต่ละรูปแบบ

  30. รูปแบบการวิจัย • วิจัยเชิงปริมาณ • การสำรวจ • การพรรณนา • วิจัยกึ่งทดลอง • วิจัยเชิงทดลอง • วิจัยเชิงคุณภาพ

  31. Survey Research pattern • อธิบาย และหรือ วิเคราะห์ X และ Y • หาความสัมพันธ์ระหว่าง X และ Y Y X

  32. Qua-si Exp. Research Pattern Y as an Indication or KPIs X as an Intervention

  33. Qualitative Research Pattern • No have fixed Pattern • Based on research method • Documentation • Interview • Focus group • Observation • the main question are How and Why • To be find out for Phenomenal of situation

  34. Action Research วงรอบที่ 2 วงรอบที่ 1 วงรอบที่ 3

  35. Mixed method • QuaNtitative method • QuaLitative method

  36. Parsimonious Designs (Creswell & Plano Clark, 2007) QUANPre-test Data & Results QUANPost-test Data & Results Interpretation qualProcess Intervention QUANData & Results QUALData & Results Interpretation Concurrent Mixed Methods Designs Triangulation Design Embedded Design

  37. qualData & Results QUANData & Results Interpretation Following up quanData & Results QUALData & Results Interpretation Building to QUANIntervention Trial Before-interventionqual After-intervention qual Interpretation Sequential Designs Mixed Methods Designs Explanatory Design Exploratory Design Sequential Embedded Design

  38. 4. Research Question • คำถามที่ต้องการหาคำตอบในการศึกษาคราวนี้คืออะไร • อาจจะมีทั้งคำถามเชิงกว้างและแคบ • เป็นการกำหนดอย่างเป็นนามธรรมหรือภาพรวมที่ผู้วิจัยสนใจที่อยากรู้ • นั่นคือการสร้างสมมติฐานในการวิจัยนั่นเอง

  39. ตัวอย่าง สนใจจะหาคำตอบใด • จะปรับระบบบริการผู้ป่วยเบาหวานในสถานีอนามัยได้อย่างไร • ปัจจัยใดเป็นสาเหตุการมีพฤติกรรมไม่ถูกต้อง • จะแก้ไขปัญหาได้อย่างไร • จะสร้างขวัญกำลังใจได้อย่างไร

  40. เทคนิค ตั้งคำถาม • Intervention • การประยุกต์โปรแกรม.....เพื่อปรับเปลี่ยน....ได้หรือไม่อย่างไร • Process • กระบวนการในการพัฒนา.....ควรเป็นอย่างไร

  41. 5. Research Objective • เป็นการบอกความประสงค์ที่ต้องการค้นหาความจริงหรือความรู้ในการศึกษาคราวนี้ • เป็นการกำหนดอย่างเป็นรูปธรรมว่าอยากทราบคำตอบ • อธิบายอย่างง่ายคือการค้นหาคำตอบตามตัวแปรที่กำหนดไว้

  42. ตัวอย่าง • การศึกษาครั้งนี้อยากรู้เรื่องอะไร • ประสิทธิผลของโปรแกรมเป็นอย่างไร • จะพัฒนาระบบบริการใหม่ได้อย่างไร • ระบบที่ออกแบบมาจะแก้ปัญหาได้หรือไม่

  43. 6. Research Framework • การตัดสินเลือกตัวแปรที่จะศึกษาในคราวนี้ • วางกรอบความเชื่อมโยงแต่ละตัวแปรที่จะศึกษา • มีความสัมพันธ์กับการเลือกรูปแบบการวิจัย

  44. การสร้างกรอบแนวคิด • เป็นการสร้างขอบเขตความเชื่อมโยงแนวคิดที่สำคัญของงานวิจัยในแต่ละเรื่อง ตามที่ระบุปัญหาไว้ • เป็นภาพรวมที่สำคัญที่ทำให้ผู้อื่นเข้าใจงานวิจัยที่จะดำเนินการ ว่ามีแนวคิดสำคัญอย่างไร มีการเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกันอย่างไร มีความสัมพันธ์กันอย่างไร • แหล่งข้อมูลที่สำคัญคือ ทฤษฎี ข้อสรุปเชิงประจักษ์ สมมติฐาน และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ผู้วิจัยจำเป็นต้องศึกษาทบทวนแหล่งข้อมูลสำคัญให้ครบถ้วน

  45. กรอบความคิด(Research Conceptual Framework) แผนภาพแสดงความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรในการวิจัย ซึ่งนักวิจัยสร้างโดยใช้ความรู้จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สัญลักษณ์ที่ใช้มีดังนี้ = ตัวแปรในการวิจัย X and Y = อิทธิพล = ความสัมพันธ์ = ผลสืบเนื่อง

  46. 7. Research Topic • เป็นการระบุชื่อเรื่องที่จะเป็นการศึกษา • แสดงความเกี่ยวข้องตัวแปรเหตุ ตัวแปรผล ของเรื่องราวอะไร ที่ไหน • การตั้งชื่อจะบอกการออกแบบและระดับการวิจัยกลายๆ

  47. กรอบการพิจารณาเกี่ยวกับการสร้างกรอบแนวคิดวิจัยกรอบการพิจารณาเกี่ยวกับการสร้างกรอบแนวคิดวิจัย • แนวคิดวิจัย Research Idea • ปัญหาวิจัย Research Problem • การออกแบบวิจัย Research Design • คำถามวิจัย Research Question • วัตถุประสงค์วิจัย Research Objective • กรอบแนวคิดวิจัย Research Framework • หัวข้อวิจัย Research Topic

  48. Q&A 48

  49. สภาพการแข่งขันของสถาบันอุดมศึกษาด้านสาธารณสุข ในพื้นที่ภาคอีสาน มรฏ สก มก. มรฏ เลย ว พชบ มรฏ อด. ม บรพ. มข มรฏ ชย. ม บรพ. มรฏ ชย. มมส. มรฏ อบ ม วชก ว นม. มอบ. มม. มรฏ นม ม ฉก มรฏ สร มรฏ บร.

  50. จากประเด็นสนใจสู่หัวข้อวิจัยจากประเด็นสนใจสู่หัวข้อวิจัย • Large • Middle • Specific • Problem • Intervention or Process • KPIs

More Related