280 likes | 813 Views
Cable Broadband. By Leo technology and marketing co.Ltd. Cable Broadband. เอกสารอบรม. เรื่องระบบเคเบิลทีวี เบื้องต้น. By Leo technology and marketing co.Ltd. Cable Broadband. เปิดโลกเทคโนโลยีเคเบิลทีวีไปกับลีโอเทค. ระบบเคเบิลทีวี ( CABLE TV SYSTEM )
E N D
Cable Broadband By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband เอกสารอบรม เรื่องระบบเคเบิลทีวีเบื้องต้น By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband เปิดโลกเทคโนโลยีเคเบิลทีวีไปกับลีโอเทค • ระบบเคเบิลทีวี (CABLE TV SYSTEM) • ตารางความถี่ที่ใช้ในการส่งทีวีในประเทศไทย • สัญลักษณ์และสเปคฯของอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในระบบเคเบิลทีวี • ระบบการรับสัญญาณดาวเทียมเบื้องต้น • ห้องส่ง (Head End) • การกระจายสายเมน (Main Distribution) • การกระจายสายเมนย่อย (Sub-Main Distribution) • เทคนิคการนำสัญญาณจาก CATV เข้าไปมิกซ์ในระบบ MATV ให้ภาพคมชัด • ปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเคเบิลทีวี • ระบบ HFC ที่นำมาใช้กับเคเบิลทีวี • ห้องส่ง สเตอริโอ 2 ภาษา • เทคโนโลยีระบบดิจิตอลทีวี (Digital Television) • การปรับระบบจาก 550MHz ไปเป็น 750MHz 860MHz และระบบ 2 Way By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband ระบบเคเบิลทีวี (CABLE TV SYSTEM) ระบบเคเบิลทีวี แบ่งเป็น 2 ระบบ คือ1. ระบบเคเบิลทีวีภายในตึก (MATV, SMATV) 2. ระบบเคเบิลทีวีท้องถิ่น (CATV) 1. ระบบเคเบิลทีวีภายในตึก (MATV, SMATV) เป็นระบบกระจายสัญญาณเคเบิลทีวีผ่านสายนำสัญญาณ ที่อยู่ภายในอาคาร และ จุดรับชมอยู่ภายในอาคารนั้น เป็นระบบที่มี สายอากาศ(Antenna) หรือรับจากสัญญาณดาวเทียม(Satellite) รับสัญญาณโทรทัศน์ช่องต่างๆ เพียงชุดเดียวแต่สามารถป้อน สัญญาณไปยังจุดต่างๆ ในอาคารขนาดใหญ่ได้เป็นจำนวนหลายร้อยจุด การออกแบบและติดตั้งระบบ MATV และ SMATV ขยาย สัญญาณให้แรงขึ้นโดยใช้ บูสเตอร์(Indoor Amplifier) ขยายเป็นช่วงๆ ทำให้สัญญาณปลายทาง แรงพอที่จะทำให้เครื่องรับ โทรทัศน์รับสัญญาณได้ชัดเจน นอกจากสัญญาณโทรทัศน์แล้ว ยังสามารถรวมสัญญาณวิทยุ FM. สัญญาณวิดีโอ โทรทัศน์ วงจรปิดเข้าไปในระบบได้อีกด้วย By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband ระบบเคเบิล ทีวี ภายในอาคาร ( MATV & SMATV )
Cable Broadband 2. ระบบเคเบิลทีวีท้องถิ่น (CATV) เป็นระบบกระจายสัญญาณเคเบิลทีวีผ่านสายนำสัญญาณ ที่อยู่ภายนอกอาคาร แต่เดิมมักทำในบริเวณที่มีปัญหาในการรับสัญญาณโทรทัศน์โดยสายอากาศไม่ชัดและส่งสัญญาณตั้งแต่ 1-25 ช่องรายการ ลูกค้าที่เป็นสมาชิกจะสามารถรับชมสัญญาณมากขึ้นและคมชัดในราคาที่ไม่แพงมากนัก แต่ปัจจุบันทำนิยมทำในเมืองขนาดใหญ่ทั้งระดับ จังหวัด อำเภอ เทศบาล หมู่บ้าน ส่งสัญญาณตั้งแต่ 40-100 รายการ โดยมีการซื้อลิขสิทธิ์รายการต่างๆเข้ามาเสริมและเก็บค่าบริการได้สูงขึ้น รายการต่างๆ ส่วนมากรับมาจากดาวเทียม เครื่องเล่น DVD, VCD, PC Computer, IP การกระจายสัญญาณจะใช้สาย โคแอคเซียล และ ทรั้งแอมป์ปลิไฟเออร์ ในการกระจายสัญญาณ และในปัจจุบันมีการใช้ ไฟเบอร์ออฟติกเข้ามาใช้ร่วมในระบบด้วย By Leo technology and marketing co.Ltd By Leo technology and marketing co.Ltd
ระบบเคเบิลทีวีท้องถิ่น CATV Fiber Optic Coaxial TRUNK Amp Optical reciever
Cable Broadband ประโยชน์ของการรับชมรายการเคเบิลทีวีที่ต้องเสียค่าบริการรายเดือน มีความหลากหลาย ของช่องรายการ มีรายละเอียดดังนี้ 1. รับชมสถานีโทรทัศน์พื้นฐาน (ช่อง 3, 5, 7, 9, 11, iTV) ได้คมชัด2. ทุกจุดรับชมสามารถเลือกชมรายการได้หลากหลายเหมือนกัน3. เยาวชนในท้องถิ่นพัฒนาการศึกษา ความรู้ได้เท่าเทียมถิ่นอื่น เพราะสามารถรับรายการโทรทัศน์ช่องการศึกษาทางไกล 4. ก้าวทันโลกไม่ตกข่าวสำคัญๆ ของทุกประเทศ ทุกทวีป โดยข่าวสารผ่านดาวเทียมจากทั่วโลก5. เพิ่มความสะดวก และรวดเร็วในการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่างๆ จากผู้นำชุมชน ถึงสมาชิกทุกคน โดยผ่านระบบทีวีรวม ทำให้แผนงานและผลงานขององค์กรในท้องถิ่นมีประสิทธิภาพ และประสบความสำเร็จ6. สมาชิกในชุมชนไม่พลาดกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนแม้จะไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ เนื่องจากระบบเคเบิลทีวี สามารถถ่ายทอดสดกิจกรรมต่างๆ ผ่านกล้องวิดีโอ และส่งตรงถึงสมาชิกในชุมชนถึงบ้าน7. เปิดโอกาสให้สมาชิกชุมชน มีส่วนร่วมในการส่งความบันเทิง และสื่อสารกับทุกคน ด้วยการจัดรายการเสียงตามสายได้เช่นเดียวกับดีเจของสถานีวิทยุต่างๆ แต่พิเศษกว่าตรงที่สามารถรับฟังผ่านโทรทัศน์ได้ 8. ความบันเทิงที่เลือกได้อย่างอิสระ สามารถทำ TV on Demand ภายในชุมชนได้โดยการจัดผังภาพยนตร์จาก VDO/VCD ที่ท่านสามารถเลือกเรื่อง ประเภทได้ตามความต้องการของคนในชุมชน9. ช่วยเพิ่มความปลอดภัยในชุมชน เพราะสามารถเป็นทีวีวงจรปิดได้ 10. ทัศนียภาพของชุมชมดูสวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นหน้าเป็นตาของชุมชน เพราะไม่จำเป็นต้องใช้เสาอากาศเพื่อรับสัญญาณอีกต่อไป11. ความน่าสนใจ และมีความรู้ของรายการผ่านระบบเคเบิลทีวี ทำให้เยาวชนใช้เวลาได้อย่างเป็นประโยชน์12. ผู้นำชุมชนสามารถเข้าถึงสมาชิก อันนำไปสู่การสร้างความสามัคคีในชุมชน เนื่องจากสามารถสื่อสารถึงกันได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ง่ายดาย และเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน13. เปิดโลกทัศน์ให้แก่ชุมชน โดยชุมชนจะได้รับชมรายการอันเป็นประโยชน์ ทั้งข่าวสาร สาระ ความบันเทิง จากทั่วทุกมุมโลก ทำให้ชุมชนสามารถยกระดับความสามารถเพิ่มขึ้น 14. ระบบเคเบิลทีวี เป็นเหมือนแหล่งกระจายความรู้ ของสมาชิก ทำให้ชุมชนพัฒนาความรู้ ความสามารถนั้นๆ จนเป็นเอกลักษณ์ประจำชุมชนได้ ดังโครงการ "หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ By Leo technology and marketing co.Ltd
Channel Video Carier Audio Carier Channel Video Carier Audio Carier Channel Video Carier Audio Carier Channel Video Carier Audio Carier 2 48.25 53.75 S12 238.25 243.75 S39 447.25 452.75 45 663.25 668.75 3 55.25 60.75 S13 245.25 250.75 S40 455.25 460.75 46 671.25 676.75 4 62.25 67.75 S14 252.25 257.75 S41 463.25 468.75 47 679.25 684.75 X 69.25 74.75 S15 259.25 264.75 21 471.25 476.75 48 687.25 692.75 Y 76.25 81.75 S16 266.25 271.75 22 479.25 484.75 49 695.25 700.75 Z 83.25 88.75 S17 273.25 278.75 23 487.25 492.75 50 703.25 708.75 Z1 90.25 95.75 S18 280.25 285.75 24 495.25 500.75 51 711.25 716.75 Z2 97.25 102.75 S19 287.25 292.75 25 503.25 508.75 52 719.25 724.75 S1 105.25 110.75 S20 294.25 299.75 26 511.25 516.75 53 727.25 732.75 S2 112.25 117.75 S21 303.25 308.75 27 519.25 524.75 54 735.25 740.75 S3 119.25 124.75 S22 311.25 316.75 28 527.25 532.75 55 743.25 748.75 S4 126.25 131.75 S23 319.25 324.75 29 535.25 540.75 56 751.25 756.75 S5 133.25 138.75 S24 327.25 332.75 30 543.25 548.75 57 759.25 764.75 S6 140.25 145.75 S25 335.25 340.75 31 551.25 556.75 58 767.25 772.75 S7 147.25 152.75 S26 343.25 348.75 32 559.25 564.75 59 775.25 780.75 S8 154.25 159.75 S27 351.25 356.75 33 567.25 572.75 60 783.25 788.75 S9 161.25 166.75 S28 359.25 364.75 34 575.25 580.75 61 791.25 796.75 S10 168.25 173.75 S29 367.25 372.75 35 583.25 588.75 62 799.25 804.75 5 175.25 180.75 S30 375.25 380.75 36 591.25 596.75 63 807.25 812.75 6 182.25 187.75 S31 383.25 388.75 37 599.25 604.75 64 815.25 820.75 7 189.25 194.75 S32 391.25 396.75 38 607.25 612.75 65 823.25 828.75 8 196.25 201.75 S33 399.25 404.75 39 615.25 620.75 66 831.25 836.75 9 203.25 208.75 S34 407.25 412.75 40 623.25 628.75 67 839.25 844.75 10 210.25 215.75 S35 415.25 420.75 41 631.25 636.75 68 847.25 852.75 11 217.25 222.75 S36 423.25 428.75 42 639.25 644.75 69 855.25 860.75 12 224.25 229.75 S37 431.25 436.75 43 647.25 652.75 S11 231.25 236.75 S38 439.25 444.75 44 655.25 660.75 Cable Broadband ตารางความถี่มาตรฐาน CCIR
กราฟความถี่มาตรฐาน CCIR (ไม่รวม S-Band) Cable Broadband VL : CH2, CH3, CH4 (รวม 3 ช่อง) ความแรง(dB) VH : CH5, CH6, CH7, … CH12 (รวม 8 ช่อง) 100dB UHF : CH21, CH22, CH23, … CH69 (รวม 49 ช่อง) 90dB 80dB 70dB ความถี่(MHz) (ความถี่ของทีวี มักแสดงเป็นช่องตามมาตรฐาน CCIR) By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband กราฟความถี่มาตรฐาน CCIR (รวม S-Band) VL : CH2, CH3, CH4 (รวม 3 ช่อง) S-Band(Low) : X, Y, Z, Z1, Z2, S1, S2, …S10 (รวม 15 ช่อง) VH : CH5, CH6, CH7, … CH12 (รวม 8 ช่อง) ความแรง(dB) S-Band(High) : S11, S12, …S41 (รวม 31 ช่อง) UHF : CH21, CH22, CH23, … CH69 (รวม 49 ช่อง) 100dB 90dB 80dB 70dB ความถี่(MHz) (ความถี่ของทีวี มักแสดงเป็นช่องตามมาตรฐาน CCIR) สัญญาณเคเบิลทีวี เรามักเรียกว่าสัญญาณ อาร์เอฟ (RF : Radio Frequency) ซึ่งหมายถึง สัญญาณ ที่อยู่ในย่านความถี่วิทยุ ย่าน VHF(VL, VH) และ UHF By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband สัญญาณ Modulator สัญญาณภาพ สัญญาณภาพ 15 dB. 15 dB. สัญญาณเสียง สัญญาณเสียง ระยะห่าง 5.5 MHZ ระยะห่าง 5.5 MHZ ระยะห่าง 8 MHz ระยะห่าง 7 MHz • แบนวิดท์ย่าน VHF ตั้งแต่ ช่อง S21 และย่าน • UHF ช่อง U21 ถึง U69และS11- S20 คือ • 8 MHz • แบนวิดท์ของภาพและเสียง 5.5 MHz • ระยะห่างระหว่างภาพและเสียงเท่ากับ 15 dB. • แบนวิดท์ย่าน VL กับ VHF คือ ช่อง2 – 12 • และS11- S20 คือ 7 MHz • แบนวิดท์ของภาพและเสียง 5.5 MHz • ระยะห่างระหว่างภาพและเสียงเท่ากับ 15 dB. By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband ระบบเคเบิลทีวีประกอบไปด้วย 1. ห้องส่ง (Head End) 2. การกระจายสายเมน (Main Distribution) 3. การกระจายสายเมนย่อย (Sub-Main Distribution) 1. ห้องส่ง (Head End) ห้องส่งในระบบเคเบิลทีวีจะนำสัญญาณ ภาพ(Video) และ เสียง (Audio) หรือที่เราเรียกกันว่าสัญญาณ “เอวี” (A/V) จาก แหล่งต่างๆไม่ว่าจะเป็นจาก เครื่องรับดาวเทียม เครื่องเล่น VCD, DVD หรือ จากคอมพิวเตอร์ PC หรือ IP มาเข้าอุปกรณ์ที่เรา เรียกกันว่า มอดูเลเตอร์ (Modulator) มอดูเลเตอร์ (Modulator)จะทำหน้าที่ มอดูเลตสัญญาณ A/V ดังกล่าวให้เป็นสัญญาณ RF (Radio Frequency) โดยที่ RF แต่ละช่องไม่ซ้ำกัน ตามตารางก่อนหน้านี้ จะทำให้สัญญาณส่งไปได้ไกลขึ้น โดยไม่มีการรบกวนกันเอง มอดดูเลเตอร์ สามารถแบ่งตามรูปแบบของสัญญาณได้เป็น 2 ชนิด คือ - Double Side Band Modualtor ส่งช่องติดกันไม่ได้ - Single Side Band Modulator ส่งช่องติดกันได้ มอดูเลเตอร์ สามารถแบ่งตามการใช้งานได้เป็น 2 ชนิด คือ 1. Modulator แบบ Fix ความถี่คือ Mod ที่ได้กำหนดช่องความถี่มาจากโรงงานแล้ว ไม่สามารถทำการเปลี่ยนแปลงความถี่ที่ส่ง ออกได้( ต้องให้ผู้ผลิตเปลี่ยนให้ ) การปรับจูน สามารถปรับความมืดสว่างและระดับเสียงขึ้นลงตามความต้อง และสามารถปรับ ความแรงของสัญญาณ RF Out Put ได้ประมาณ 110 – 120 dB. นิยมนำมาใช้ในห้องส่งเคเบิลทีวี By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband 2. Modulator แบบเลือกความถี่ คือ Modulator ที่สามารถเลือกความถี่ที่ต้องการส่งได้ตามต้องการ ตั้งแต่ช่อง ต่ำสุด ถึง ช่องสูงสุดที่ความสามารถของ Mod จะสามารถส่งได้ ในห้องส่งแต่ละแห่งส่วนใหญ่จะใช้เป็น Mod สำรอง การปรับจูนสามารถทำได้เหมือนกับ Mod แบบ Fix ตัวควบคุมระดับเสียง (Audio Equalizer) EQ Equalizer เป็นอุปกรณ์ควบคุมความดังของเสียงที่ใช้ในห้องส่ง ที่ใช้ในห้องส่ง WE TV ปัจจุบันเป็นแบบ Stereo แยก ซ้าย – ขวา จำนวน 6 ช่อง แต่ในปัจจุบันการส่งสัญญาณเป็นแบบ Mono จึงนำมาใช้ โดยเสียง 1 ช่องส่งข้างซ้าย อีก 1 ช่องส่งข้างขวา ซึ่งแต่ละข้าง สามารถปรับแยกเสียงได้อิสระ ความสามารถในการควบคุมสามารถควบคุมเสียงขึ้นได้ใน Volume ที่ขึ้นลงไม่มาก EQ จะติดตั้งอยู่ ระหว่าง Receiver กับ Modulator By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband ตัวรวมสัญญาณ (Combiner) Combiner เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รวมสัญญาณที่ส่งมาจาก Modulator มีหลายชนิดให้เลือกใช้ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้ สำหรับห้องส่ง WE TV ใช้ยี่ห้อ Zinwell 16 InPut 1 OutPut ทั้งหมด 4 ตัวนำมา Loop เป็น 1 Out – Put รวมเป็น 64 ช่อง หลังจากการรวมสัญญาณทั้งหมดแล้วการนำไปใช้งานจะต้องทำการขยายสัญญาณโดยการติดตั้ง Amp ขยายสัญญาณเพื่อแบ่งสัญญาณ ให้เพียงพอกับจำนวนเครื่องส่ง Transmitter ทั้งหมดที่มีอยู่และเผื่อไว้สำหรับอนาคต โดยสัญญาณที่ออกจาก Amp จะเป็นสัญญาณ RF ที่ใช้กันทั่วไป สำหรับ Transmitter จะทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณ RF เป็นสัญญาณแสง และส่งไปตามสาย Fiber Optic ที่วางไว้ต่อไป By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband ตัวอย่าง ห้องส่ง (HEAD END) 64 ช่องรายการ By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband สัญลักษณ์และสเปคฯของอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในระบบเคเบิลทีวี AMPLIFIER, BOOSTER WIDE BAND AMPLIFIER AMPLIFIRE GAIN SLOPE MULTI-BAND AMPLIFIER VL BOOSTER VH UHF By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband SPLITTER -3.5dB INPUT สัญลักษณ์และสเปคฯของอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในระบบเคเบิลทีวี -10.5dB -10.5dB -3.5dB -7.0dB SPLITTER 2 WAY INPUT -7.0dB -7.0dB -10.5dB -10.5dB SPLITTER 6 WAY INPUT -3.5dB -7.0dB -10.5dB -10.5dB SPLITTER 3 WAY -10.5dB INPUT -10.5dB -10.5dB -7.0dB -7.0dB -10.5dB INPUT -10.5dB -10.5dB SPLITTER 8 WAY -7.0dB -7.0dB SPLITTER 4 WAY By Leo technology and marketing co.Ltd
INPUT OUTPUT -3.0dB INPUT OUTPUT -3.0dB Cable Broadband TAP-OFF สัญลักษณ์และสเปคฯของอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในระบบเคเบิลทีวี TAPOFF 1 WAY LDC-8,-12,-16 TAPOFF 2 WAY INPUT OUTPUT TAPOFF 4 WAY -3.0dB INPUT OUTPUT TAPOFF 8 WAY -3.0dB By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband การกระจายสายเมน (Main Distribution) การทำระบบเคเบิลทีวีในอดีตเลย จะส่งเพียงช่องเดียวไปในสายเมน RG6 โดยใช้บูสเตอร์ภายในมาดัดแปลง จนยุกต์ถัดมาเป็นยุกต์ที่ พัฒนามาเป็นบูสเตอร์ภายนอกใช้สาย RG6 ที่มีสลิง และมีการส่งจำนวนช่องที่มากขึ้น และปัจจุบันพัฒนามาเป็น RG11สลิง สาย ครึ่งนิ้ว (Half Inch) และใช้ทรั้งแอมป์ปลิไฟเออร์มาเป็นตัวขยายสัญญาณ และล่าสุดมีการนำ สายออฟติคอลไฟเบอร์ (Optical Fiber Cable) มาใช้ในโครงข่าย และมีจำนวนช่องที่ส่งมากขึ้นตั้งแต่ 40 ช่องขึ้นไป จนถึง มากกว่า 80 ช่องรายการ เราจะกล่าวถึงสาย RG6, RG11, Half Inceซึ่งส่วนใหญ่ เราจะเรียกว่า สายโคเอเซียล(Coaxial Cable) ก่อน ว่ายายดังกล่าว เรามีหลักการในการพิจารณาสายอย่างไร และ ค่าการสูญเสียของสัญญาณ เป็นเช่นไร PVC Jacket Steel Messenger Aluminum Braided Shield Bonded Laminated Aluminum Tape Dielectric Center Conductor By Leo technology and marketing co.Ltd
ระยะสาย ~200m ~200m ~200m ระยะสาย ระยะสาย Cable Broadband ระยะสาย ระยะสาย ระยะสาย การวางสายเมนโคแอคเซียล ~200m ~200m ~200m (-3.5dB) (-7dB) ระยะสาย ระยะสาย ~165m ~130m ~200m ระยะสาย ~200m ระยะสาย ตัวอย่าง วางสาย RG11 ในระบบ 550MHz By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband การวางสายเมนย่อย โดยส่วนมากแล้ว สายเมน RG11 จะมีระยะห่างจาก ทรั้งแอมป์ฯ ต่อ ทรั้งแอมป์ฯ ไกลสุด ระยะ 200-220 เมตร หากเสาไฟฟ้า มีระยะห่างระหว่างเสาแต่ละต้น 30 เมตรเราจะวางเมนย่อย หรือเมนแทปออฟ ดังนี้ 30m 30m 45m 45m 45m 30m 30m 30m 30m 30m 30m 30m 30m 30m 30m By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband การวางสายเมนย่อย คำถาม ในระบบเคเบิลทีวี ส่งสัญญาณที่ความถี่สูงสุด 550MHz ส่งสัญญาณมายังบ้านหลังหนึ่ง แยกเข้าทีวีภายในบ้าน 4 จุด สัญญาณทีวีแต่ละเครื่องจะอยู่ที่ระดับสัญญาณกี่ dB ทีวีเครื่องที่1 = dB ทีวีเครื่องที่2 =dB ทีวีเครื่องที่3 = dB ทีวีเครื่องที่4 =dB 30m 30m 45m 45m 45m 30m 30m 30m 30m 30m 30m 30m 30m 30m 30m RG6=20m RG6=20m RG6=5m TV3 TV1 RG6=10m TV2 TV4 RG6=15m
Cable Broadband การวางตำแหน่งแหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) ในระบบเคเบิลทีวี ทรั้งแอมป์ฯ จะไม่สามารถทำงานได้หากไม่มีไฟมาเลี่ยงวงจร ดังนั้นเราจึงต้องติดตั้ง เพาเวอร์ซัพลาย ที่จุดต่างๆ เพื่อนำมาจ่ายไฟเลี้ยงทรั้งแอมป์ฯดังกล่าว ไฟที่ใช้เลี้ยงเป็นไปกระแสสลับ ขนาดแรงดัน 63 โวลท์ ขนาดของกระแสขึ้นกับขนาดของหม้อแปลง แต่ที่เรานิยมใช้ในปัจจุบันมีขนาด 63โวลท์/13แอมป์ ไฟที่ออกมาจากเพาเวอร์ซัพพลาย สามารถเดิทางไปได้ทุกทิศทางหากเราต่อสะพานไฟให้ และเมื่อเดินทางผ่านสายโคแอคเซียล ระยะทางไกลออกไป หรือผ่านโหลดที่เป็นทรั้งแอมป์ฯ หลายๆตัว ไฟก็จะค่อยๆ ตกลง จึงจำเป็นต้องมี เพาเวอร์ซัพพลายที่ตำแหน่งต่างๆ ที่เหมาะสม โดยปกติแล้ว การจ่ายไฟให้กับ ทรั้งแอมป์ฯที่ มีวงจรไฟเลี้ยงที่เป็น สวิทชิ่งฯ จะจ่ายได้ขั้นต่ำประมาณ 5 ตัว, ส่วนในการจ่ายไฟให้กับ ทรั้งแอมป์ที่เป็น หม้อแปลงเรคติไฟเออร์ จะจ่ายได้ขั้นต่ำประมาณ 7 ตัว และการจ่ายไฟให้กับทรั้งแอมป์ จะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า เพาเวอร์อินเซิร์ท (Line Power Inserter) ทำหน้าที่นำไปเข้าไปจ่ายเลี้ยงวงจรรวมกับสัญญาณ อาร์เอฟ และยังทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้สัญญาณ อาร์เอฟ ออกมายังเพาเวร์ซัพพลายอีกด้วย การจ่ายไฟให้กับ ทรั้งแอมป์ฯที่ มีวงจรไฟเลี้ยงที่เป็น สวิทชิ่งฯ การจ่ายไฟให้กับ ทรั้งแอมป์ที่เป็น หม้อแปลงเรคติไฟเออร์ (Line Power Inserter) (Line Power Inserter) (Power Supply) (Power Supply) By Leo technology and marketing co.Ltd
Cable Broadband ตัวอย่าง การจ่ายไฟจาก แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) เพื่อเลี้ยงทรั้งแอมป์ใน 1 เส้นทางของสายเมน By Leo technology and marketing co.Ltd