500 likes | 752 Views
ร่วมกันสร้างชุมชนด้วยการจัดการความรู้ ( KM). ร. คุณค่าของ “ความรู้”. ความรู้เป็นสินทรัพย์ ใช้แล้วไม่มีวันหมด ยิ่งใช้ยิ่งเพิ่ม ยิ่งใช้มากเท่าไร ยิ่งมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น. ลักษณะเด่นของความรู้. ** ความรู้ยิ่งใช้ยิ่งมีมากไม่มีขีดจำกัด. ** เมื่อนำความรู้ใหม่มาผสมกับความรู้เดิมที่มีอยู่
E N D
คุณค่าของ “ความรู้” ความรู้เป็นสินทรัพย์ ใช้แล้วไม่มีวันหมด ยิ่งใช้ยิ่งเพิ่ม ยิ่งใช้มากเท่าไร ยิ่งมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น
ลักษณะเด่นของความรู้ ** ความรู้ยิ่งใช้ยิ่งมีมากไม่มีขีดจำกัด ** เมื่อนำความรู้ใหม่มาผสมกับความรู้เดิมที่มีอยู่ ในตัวคนก็จะเกิดความรู้ใหม่ๆมากขึ้นไปอีก ** เป็นการสร้างความรู้ใหม่จากงานที่ทำ ** หมุนเวียนกลายเป็นวงจรความรู้ไม่จบสิ้น
4 เรียนรู้ เลียนแบบ พัฒนาต่อยอด 3 เลียนรู้ รับมา ทำเลียนแบบ 2 รับรู้ แต่อาจไม่ได้นำไปใช้ 1 ไม่รู้ ไม่รู้ไม่ชี้vs. ไม่รู้แล้วชี้ บันไดสี่ขั้นสู่การเรียนรู้ (Learning)
ขั้นของความรู้ ปัญญา WISDOM ความรู้ KNOWLEDGE ข้อมูลข่าวสาร INFORMATION ข้อมูล DATA
ความรู้ (Knowledge) ประเภทของความรู้มี 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ • ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) หนังสือ เอกสาร เป็นต้น • ความรู้ที่ฝังลึก (Tacit Knowledge) ความรู้ในตัวคน
1) ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) • เป็นความรู้ที่เห็นได้ชัดเจน • เป็นรูปธรรม • เป็นความรู้ที่อยู่ในตำรับตำรา เช่น หลักวิชาหรือทฤษฎีทั้งหลาย
2) ความรู้ที่ฝังลึก (Tacit Knowledge) • เป็นความรู้ที่ฝังลึกอยู่ในตัวคน • เป็นสิ่งที่เห็นได้ไม่ชัด • เป็นความรู้ที่มาจากการปฏิบัติ • เป็นเคล็ดวิชา • เป็นภูมิปัญญา • เป็นเทคนิคเฉพาะตัวของผู้ปฏิบัติแต่ละท่าน
Explicit Knowledge Tacit Knowledge ภูเขาน้ำแข็ง(ความรู้ 2 ประเภท) 12
กระบวนการจัดการความรู้ 1. การบ่งชี้ความรู้ - การบ่งชี้ความรู้ที่องค์กรจำเป็นต้องมี - วิเคราะห์รูปแบบและแหล่งความรู้ที่มีอยู่ เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ - สร้างและแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่กระจัดกระจายทั้งภายใน/ภายนอก เพื่อจัดทำเนื้อหาให้ตรงกับความต้องการ
1. เข้าถึงตีความ 4. รวบรวม/จัดเก็บ (Store) 2. นำไปปรับใช้(Apply/Utilize) Explicit Knowledge 3. เรียนรู้ยกระดับ ขั้นตอนการจัดการความรู้ชัดแจ้ง
3. สร้างความรู้ยกระดับ Create/leverage 4. นำไปปรับใช้(Apply/Utilize) 2.เรียนรู้ร่วมกัน Capture/Learn Tacit Knowledge 1.มีใจแบ่งปัน Care & Share ขั้นตอนการจัดการความรู้ฝังลึก
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ลปรร.)
Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) “คุณอำนวย” Knowledge Facilitator “คุณเอื้อ” Chief Knowledge Officer : CKO Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs “คุณกิจ” Knowledge Vision ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Practitioner Model “ปลาทู” KA KS KV
KM โมเดลปลาทู Knowledge Assets (KA) Knowledge Vision (KV) Knowledge Sharing (KS) - ความรู้ชัดแจ้ง - ความรู้ฝังลึก 21
หัวเรื่อง/ประเด็นในการถอดองค์ความรู้หัวเรื่อง/ประเด็นในการถอดองค์ความรู้ Knowledge Vision (KV) • หัวปลา = เป้าหมายของการจัดการความรู้ • เป็นการตอบคำถามว่า • …ทำ KM ไปทำไม • …ทำไปเพื่ออะไร 22
23 ซึ่งผู้ที่จะมาทำหน้าที่รับผิดชอบเรื่อง KM นี้ ที่เรียกว่า Chief Knowledge Officer:CKO (คุณเอื้อ) จะต้องเป็นผู้ที่ช่วยสอดส่องดูแลเรื่อง หัวปลา ให้ดี เพื่อไม่ให้ปลาตัวนี้ว่ายไปผิดทาง คำถามสำคัญที่จะต้องตอบให้ได้ คือคำถามที่ว่า - เรากำลังจะทำ KM ไปทำไม? - เรากำลังจะจัดการความรู้เกี่ยวกับเรื่องอะไร?
ตัวปลา(Knowledge Sharing :KS) เป็นส่วนที่สำคัญ เพราะการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share & Learn) ถือเป็น หัวใจ ของ การทำ KM กระบวนการส่วนนี้ จะต้องเริ่มต้นที่การทำกิจกรรมเพื่อสร้างความคุ้นเคยกันก่อนเป็นลำดับแรก 24
ตัวอย่าง กลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กระบวนการนี้ควรมี คุณอำนวย (Knowledge Facilitator)หน้าที่ดังนี้ • เอื้ออำนวยให้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้นี้ลื่นไหล • ไม่หลุดออกไปนอกทาง (หลงประเด็น) • อีกทั้งยังช่วยสร้างบรรยากาศดีๆ ให้เกิดขึ้นตลอดเวลา • คอยป้อนคำถามในกรณีที่ผู้เล่า (เรื่องเล่าลงไปไม่ลึก เล่าแต่เพียงผิวๆ) • ต้องพยายามถาม เพื่อทำให้ได้เห็นถึงเคล็ดวิชาหรือเทคนิค เฉพาะตัวที่ใช้หรือความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge)ที่ต้อง แคะ ออกมา
หางปลา (Knowledge Asset : KA) เปรียบเสมือน ถังที่เอาความรู้ที่ได้มาใส่ไว้ แล้วใช้ระบบจัดเก็บให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อให้สามารถเข้าถึงได้ง่าย ผู้ใช้จะได้ประโยชน์จากสิ่งที่อยู่ในนี้อย่างแท้จริง 27
“หัวปลา” • Knowledge Vision • ต้องเชื่อมต่อกับ “ภาพใหญ่” • ต้องได้ Output, Outcomes • ต้องเข้าใจบทบาท “คุณเอื้อ” • ต้องใช้ “ภาวะผู้นำ” ในทุกระดับ • “หางปลา” • Knowledge Assets ได้มาจาก “คุณกิจ” ตัวจริง • มีทั้งส่วนที่เป็น Explicit และ Tacit • มีระบบ/เทคโนโลยีที่ทำให้เข้าถึงได้ง่าย สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ KA KV KS • “ตัวปลา” • Knowledge Sharing สิ่งที่เป็น Tacit • ทำให้ได้คิด และสร้างแรงบันดาลใจ • ให้ “คุณอำนวย” ช่วยกระตุ้น และหมุน “เกลียวความรู้”
คุณอำนวย คุณบันทึก คุณกิจ คุณสังเกต คุณกิจ คุณกิจ คุณกิจ การแบ่งกลุ่มย่อย เพื่อทำ กระบวนการสกัดความรู้จากเรื่องเล่า
กลุ่มขนาดไม่ใหญ่นัก 10-12 คน ไม่ควรใช้รูปแบบการนั่งที่เป็นทางการ ใช้การเล่าเรื่อง (Story Telling) โดยให้ผลัดกันเล่าความสำเร็จ ความภูมิใจ ที่ได้เลือกกันไว้ ในประเด็นที่ตั้งไว้ เป็นการเล่าสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ถ้าเป็นความสำเร็จต้องเล่าให้ละเอียดว่าเป็นเพราะอะไรจึงทำให้ได้รับผลสำเร็จ ถ้าเป็นปัญหาต้องบอกด้วยว่าแล้วในท้ายที่สุดสามารถก้าวข้ามปัญหาไปได้อย่างไร กลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้
Before Action Review(BAR) 1. วางแผนในการ ลปรร. 2. การเข้าใจประเด็นหัวเรื่อง/หัวปลา 3. การนำเข้าสู่การเล่าเรื่อง การเล่นเกม การทำกิจกรรม 4. การสร้างความเป็นกันเอง และผ่อนคลายผู้เล่าเรื่อง ด้วยกิจกรรม5. การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการ ลปรร. 6. การเขียนเรื่องที่จะเล่า (คุณกิจ)
After Action Review(AAR) 1. เป้าหมายของการเข้าร่วมประชุมครั้งนี้คืออะไร2. สิ่งที่บรรลุเป้าหมายคืออะไร 3. สิ่งที่เกินความคาดหวัง4. สิ่งที่ไม่บรรลุเป้าหมายคืออะไร 5. สิ่งที่ได้เรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ที่สุด6. คิดจะกลับไปทำอะไรต่อ7. ถ้าจะมีการจัดประชุมเช่นนี้อีก มีข้อเสนอแนะ ให้ปรับปรุงส่วนไหนบ้าง
เทคนิคการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • - พูดในสิ่งที่ทำ โดยเน้นพูดถึงความสำเร็จ • - เน้นการปฏิบัติจริง • - ใช้กิจกรรมกลุ่ม/กระบวนการกลุ่ม • - ภายใต้บรรยากาศเป็นมิตร อิสระ เท่าเทียม • - ปรารถนาดี ยอมรับ ให้เกียรติ • - ฝึกรับฟังคนอื่น รู้จักชื่นชมและให้กำลังใจ • - ปล่อยตัวตามสบาย ทำจิตใจให้กว้าง
เทคนิคการเป็น “คุณอำนวย” Facilitator • ฟังเป็น • พูด/ถามเป็น • คิดเป็น • เข้าใจ เข้าถึงและจัดการกับสมาชิกได้ • บุคลิกดี น่าเชื่อถือ
คุณสมบัติที่ดีของ “คุณอำนวย”(Facilitator) • FA : อำนวย • CA : กระตุ้นให้เกิดความต่อเนื่อง • Network Manager : ความเชื่อมโยง
ทำความเข้าใจและเชื่อมประสานทั้ง“คุณเอื้อ” และ “คุณกิจ”
เป็น...ดาวยั่วยั่วให้คิด ยุให้คุย
....ยุให้....“คุณกิจ”คิดคำถามและหาคำตอบจากการปฏิบัติด้วยตัวเอง....ยุให้....“คุณกิจ”คิดคำถามและหาคำตอบจากการปฏิบัติด้วยตัวเอง
เป็น...นักฉวยโอกาสจัดให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ทุก เวลา สถานที่
ไร้รูปแบบ เปิดประเด็นของการเรียนรู้ใช้ลูกเล่นแหย่ด้วยคำถามจับประเด็นให้ได้ ให้เร็วให้ตอบโจทย์ที่ต้องการ
เป็น...นักสร้างบรรยากาศเป็นมิตรเปิดใจเป็น...นักสร้างบรรยากาศเป็นมิตรเปิดใจ
สร้างแรงจูงใจ ให้กำลังใจ ให้ความรัก- ชื่นชมทุกคน/ บ่อยๆ- สร้างอารมณ์ขัน- เปลี่ยนที่คุยหาสภาพแวดล้อมดีๆ- เปลี่ยนหัวข้อคุย- ให้ทุกอย่างเป็นธรรมชาติ- ใช้น้ำเสียง
พูดเชิงบวก- คิดเชิงบวก- ให้เกียรติ- เชื่อว่าทุกคนมีศักดิ์ศรี- มีภาวะผู้นำ- กัดไม่ปล่อย- Deep Listening ฯลฯ
คุณสมบัติที่ดีของ “คุณลิขิต”(Note taker) • - ตั้งใจฟัง • - จดบันทึกอย่างละเอียด • - เลือกใช้เทคนิคการบันทึกตามความเหมาะสม • - ประสานงานกับคุณอำนวย • - จดบันทึกอย่างรวดเร็ว • - วางแผนและเตรียมตัวอย่างดี • - จับประเด็นและวิเคราะห์ข้อมูล
การเล่าเรื่อง (Storytelling) เป้าหมาย ให้ผู้มีความรู้จากการปฏิบัติ (คุณกิจ)ปลดปล่อยความรู้ที่ฝังลึกอยู่ใน - ส่วนลึกของจิตใจ (ความเชื่อ) - ส่วนลึกของสมอง (ความคิด) - ส่วนลึกของร่างกาย (การปฏิบัติ) ออกมาเป็นคำพูดและท่าทาง