200 likes | 342 Views
เส้นทางก้าวสู่เป้าหมาย การสร้างวัฒนธรรมวิจัยในโรงเรียน ปีที่ 2. สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน. ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 21 Century Student Skills. ทักษะการเรียนรู้ Learning Skills ทักษะการคิด Thinking Skills
E N D
เส้นทางก้าวสู่เป้าหมายการสร้างวัฒนธรรมวิจัยในโรงเรียน ปีที่ 2 สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 2121 Century Student Skills • ทักษะการเรียนรู้ Learning Skills • ทักษะการคิด Thinking Skills • ทักษะการแก้ปัญหา Problem Solving Skills • ทักษะการใช้ชีวิต Life Skills • ทักษะการใช้เทคโนโลยี Technology Skills • ทักษะด้านการสื่อสาร Communication Skills
ตบช.4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น 1.พัฒนาคนไทยยุคใหม่ ตบช.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 2.พัฒนาครูยุคใหม่ ตบช.6.2 กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู 3.พัฒนาการบริหารจัดการใหม่ 4.พัฒนาสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ ตบช.8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายใน ตบช.12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา 1.ตั้งคำถาม 2.วางแผนเตรียมหาคำตอบ 3.ลงมือค้นหาคำตอบและตรวจสอบคำตอบ 4.สรุปและนำเสนอคำตอบ
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545
การสร้างวัฒนธรรมวิจัยในโรงเรียน • เป้าหมาย • ปฏิรูปผู้เรียนให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข โดยใช้กระบวนการวิจัยในวิถีชีวิตอย่างต่อเนื่องให้เป็นนิสัย • วิธีการ • ปฏิรูปผู้สอน โดยการกระตุ้น ส่งเสริมและจัดการเรียนรู้ด้วยกกระบวนการวิจัยเริ่มจากเทคนิค : QPAR4 ขั้นตอน • Question • Planning • Action & Observation • Reflections • ปฏิรูปโรงเรียน : สังคมแห่งการวิจัย โรงเรียนแห่งการเรียนรู้ด้วยการวิจัย วัฒนธรรม • ความคิด ความเชื่อ • ความคาดหวัง • ค่านิยมของกลุ่มคนหมู่มาก • วิถีชีวิตที่ปฏิบัติประจำ • สิ่งที่ฝึกได้ สร้างได้ เช่น • การกิน การเล่น การแต่งกาย การร้องเพลง ฯลฯ วัฒนธรรมวิจัยการที่นักเรียนมีความเชื่อ เห็นคุณค่า ของการวิจัยและเรียนรู้โดยใช้การวิจัยอย่างมีความสุข และต่อเนื่องจนเป็นนิสัย
การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม : HOW TO? • เปลี่ยนกรอบความคิด (Paradigm Shift) : มีความคิด ความเชื่อ ค่านิยม แนวปฏิบัติที่ชัดเจน 2. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม : องค์กรเสริมแรง ( Reinforcement) ผลักดันร่วมนำ ร่วมทำ ช่วยทำ หนุนนำ ตามติด • ทำต่อเนื่องเพื่อให้เกิดเป็นนิสัย : การเติมเต็ม สร้างความเข้มแข็ง พี่เลี้ยง/ทำต่อเนื่อง/เวทีนำเสนอในงานต่างๆ /รณรงค์ /กิจกรรมเสริม • ต้องถ่ายโยงกันทั่วทั้งองค์กร : เปลี่ยนแปลงจากจุดเล็กขยายถ่ายโยงไปเรื่อยๆ ภาพใหญ่ทั้งองค์กร/ทำทั้งโรงเรียน 5. ปรับเปลี่ยนเป็นวัฒนธรรมองค์กร : ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง เชื่อมั่น ศรัทธา และสื่อสาร เผยแพร่
บันได 5 ขั้นสู่โรงเรียนมาตรฐานสากล การตั้งคำถามและสมมุติฐานHypothesis Formulation การสืบค้น แสวงหาความรู้Searching for Information สรุปองค์ความรู้ Knowledge formation การสื่อสารและนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพEffective Communication จิตสาธารณะและการบริการPublic Service
โครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจัย (ปีงบประมาณ 2554-2556) การวิจัย: กระบวนการแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบ น่าเชื่อถือ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ตั้งคำถาม : Question (สังเกต สงสัย อยากรู้) เตรียมการ :Plan (คิดค้น หาวิธีตอบคำถาม) ดำเนินการค้นหาและตรวจสอบคำตอบ :Action, Observation and Reflection สรุปและนำเสนอผลการค้นหา :Conclusionand ….Presentation
การดำเนินงานโครงการสร้างวัฒนธรรมวิจัยในโรงเรียนปี 54-56 • จุดประกาย • ท้าทายความคิด • ร่วมจิตวิจัย • ก้าวไกลด้วยคาราวาน • ขยายฐานเครือข่าย • สืบสายวัฒนธรรมการวิจัย
การสร้างวัฒนธรรมวิจัยปีที่ 2 • โรงเรียนแห่งการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัย • สร้างความเข้มแข็งในการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัย • สร้างความเข้มแข็งในการจัดการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยในโรงเรียน • สร้างเครือข่ายวัฒนธรรมการวิจัย • ตรวจสอบ ทบทวนผลการดำเนินงานกับเป้าหมาย
ตรวจสอบ ทบทวนการผลดำเนินงานกับเป้าหมาย เป้าหมายปลายทางผลที่เกิดกับผู้เรียนในปีที่ 1 • 2. วิเคราะห์ ทบทวนกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่นำไปสู่การสร้างวัฒนธรรมวิจัย • 2.1 แผนการจัดการเรียนรู้ • เนื้อหาสาระ • วิธีสอน/กิจกรรมที่เอื้อ • สื่อที่เสริมทักษะ • การวัดผลที่สอดคล้อง • 2.2 บรรยากาศในเชิงบวก • 2.3 จุดอ่อน จุดแข็งและทักษะที่เป็นองค์รวม 3. วิเคราะห์ระบบ เทคนิคที่ช่วยให้บรรลุเป้าหมาย 3.1 ทักษะองค์รวมรายคน 3.2 ระบบเทคโนโลยี
สร้างเครือข่ายวัฒนธรรมวิจัยสร้างเครือข่ายวัฒนธรรมวิจัย • สร้างจุดเริ่มต้นของความร่วมมือจากการมีส่วนร่วม • เชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญจาก • ศึกษานิเทศก์ • ทีมพี่เลี้ยงระดับภาค • สถาบันการศึกษามหาวิทยาลัย • องค์กร ชุมชนท้องถิ่น • ระบบ Network : อินเทอรเน็ต เว็บไซต์
ความเข้มแข็งการสร้างวัฒนธรรมวิจัย(การบริหารจัดการ)ความเข้มแข็งการสร้างวัฒนธรรมวิจัย(การบริหารจัดการ) • ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน • สร้างค่านิยมร่วม ความเชื่อ สร้างความตระหนัก เห็นความสำคัญ • จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คาราวานใน/นอกโรงเรียน • สนับสนุนให้ขับเคลื่อนทั้ง ร.ร.: สร้างพลังให้เกิดการเปลี่ยนแปลง • ให้อำนาจการตัดสินใจ/ความรับผิดชอบแก่ครู : ปรับเวลาเรียน วิธีการ รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน • สร้างวัฒนธรรมให้ยอมรับการริเริ่ม สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ให้ทุกคนทดลองทำจนประสบความสำเร็จ • จัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เอื้อต่อการสร้างวัฒนธรรมวิจัย • นิเทศ ติดตามภายใน Coaching ให้คำปรึกษาอย่างต่อเนื่อง • ประเมิน ตรวจสอบกับเป้าหมาย ตัวชีวัด
ความเข้มแข็งการสร้างวัฒนธรรมวิจัย(การเรียนการสอน)ความเข้มแข็งการสร้างวัฒนธรรมวิจัย(การเรียนการสอน) • ศึกษานิเทศก์ /ทีมภาค/สพฐ. • นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือ Coaching อย่างต่อเนื่อง • สนับสนุน/จัดเวทีให้ครู ร.ร. ริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ที่ทำให้นักเรียนมีวัฒนธรรมวิจัย • ประเมินผลงานครู นักเรียน เทียบกับเป้าหมาย ตัวชี้วัด • สร้างเวทีแสดง/นำเสนอความสำเร็จของครู/นักเรียนในโครงการ • นำระบบ ICT เข้ามาช่วยจัดกิจกรรมสร้างนักคิด นักวิพากษ์ นักสืบค้น และสร้างความเป็นเลิศ • ศึกษาวิจัยและพัฒนารูปแบบ/กิจกรรมการเรียนการสอน ที่สอดคล้องและนำมาใช้ในการพัฒนาผู้เรียนด้วยกระบวนการวิจัย
To do6Steps 1. จุดประกาย ตื่นตัว ตามีประกาย เห็นช่องทางนำไปประยุกต์ใช้
2. ท้าทายให้คิด ท้าทายให้ลองทำ สพฐ. เปิดจองนวัตกรรมให้ผู้สนใจนำไปใช้ แจก CD, Best Practices, เอกสาร
3. นำร่องทดลอง • ปี 1 ครูกลุ่มเป้าหมาย วางแผน และทดลองโดยเริ่มฝึกทำแผนจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัยและทดลองสอน • ปี 2 ตรวจสอบ ทดลองปรับรูปแบบ กิจกรรม วิธีการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัยและขยายเครือข่ายทดลองนำร่อง
เปิดสมอง ตริตรองมองกระบวนการเรียนรู้มุ่งสู่วัฒนธรรมวิจัย 5. การวัด ประเมินผลที่สอดคล้อง 1. จุดหมายปลายทางของผู้เรียนกับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด 4. สื่อ อุปกรณ์ เครื่องมือที่เสริมทักษะ 2. สาระ หน่วย/แผนการเรียนรู้ 3. บทเรียนที่ค้นพบ ออกแบบกิจกรรม /วิธีสอนที่เอื้อ
4.-5. ขยายฐานทั้งโรงเรียน แลกเปลี่ยนคาราวานวิจัย ให้เสนอผลงานความก้าวหน้า • ปี 3ครูกลุ่มเป้าหมาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้คาราวานวิจัยระหว่างโรงเรียน กลุ่มโรงเรียน และนำเสนอในเวทีประกวดผลงานนักเรียน ครูในโครงการ
เด็กไทยยุคใหม่ก้าวสู่ความสำเร็จเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีวัฒนธรรมวิจัย • มีทักษะกระบวนการคิด การตัดสินใจที่ถูกต้อง • มีทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเอง • มีทักษะในการติดต่อสื่อสาร สร้างความเข้าใจและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข • มีทักษะการใช้ ICT ที่รองรับการเปลี่ยนแปลงและก้าวสู่อาเซียน • นักเรียนมีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิต