310 likes | 482 Views
การบริหารจัดการเครือข่ายการวิจัย สาขาพยาบาลศาสตร์. ที่ประชุมคณบดีและหัวหน้าสถาบันการศึกษาสาขาพยาบาลศาสตร์ วันที่ 6 ตุลาคม 2546. มกราคม 2545. ทบวง (อ.ก.ม. วิสามัญเกี่ยวกับการสรรหาและพัฒนา) จัดทำโครงการพัฒนาอาจารย์และบัณฑิตศึกษาควบคู่กับการพัฒนาขีดความสามารถด้านการวิจัย.
E N D
การบริหารจัดการเครือข่ายการวิจัย สาขาพยาบาลศาสตร์ ที่ประชุมคณบดีและหัวหน้าสถาบันการศึกษาสาขาพยาบาลศาสตร์ วันที่ 6 ตุลาคม 2546
มกราคม 2545 ทบวง (อ.ก.ม. วิสามัญเกี่ยวกับการสรรหาและพัฒนา) จัดทำโครงการพัฒนาอาจารย์และบัณฑิตศึกษาควบคู่กับการพัฒนาขีดความสามารถด้านการวิจัย ความเป็นมาของเครือข่ายการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์
7 พฤษภาคม 2545 ที่ประชุมคณบดีได้นำหารือในการประชุม ทค.พย. มีมติให้ตั้งคณะทำงานร่างโครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายนักวิชาการทางการพยาบาลที่สอดคล้องกับกระบวนการปฏิรูปสุขภาพ โดยมอบหมายให้ รศ.ดร.วิจิตร ศรีสุพรรณ เป็นประธานคณะทำงาน ความเป็นมาของเครือข่ายการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์(ต่อ)
9 มิถุนายน 2545 คณะทำงานได้ประชุมร่วมกันวิเคราะห์และสังเคราะห์งานวิจัยทางการพยาบาลในประเทศไทยและนำเสนอ ทค.พย. เพื่อร่วมกำหนด Research area และโจทย์หัวข้อวิจัย 5 กลุ่ม 1. กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง 2. กลุ่มผู้สูงอายุ 3. กลุ่มส่งเสริมสุขภาพ 4. กลุ่ม Nursing system 5. กลุ่มสตรีนิยม ความเป็นมาของเครือข่ายการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์(ต่อ)
29 กรกฎาคม - 1 สิงหาคม 2545 จัดประชุมวิชาการเรื่องการสร้างเครือข่ายการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์ (Cooperative research network in nursing)โดยเชิญวิทยากรจากต่างประเทศ (Dr. Ada Sue Hinshaw) ผลลัพธ์ :1. แนวทางความร่วมมือในการดำเนินการ วิจัยระหว่างสถาบันและบุคคล2. ทิศทางการวิจัยและการสร้างเครือข่าย กับต่างประเทศ ความเป็นมาของเครือข่ายการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์(ต่อ)
สิงหาคม 2545 -ตุลาคม 2545 แต่งตั้งคณะทำงาน “คณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล” คณะทำงานมาจากผู้แทนสถาบันการศึกษาของ ทค.พย. กำหนดวาระ 2 ปี ความเป็นมาของเครือข่ายการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์(ต่อ)
หน้าที่คณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาลหน้าที่คณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล • จัดทำฐานข้อมูลเบื้องต้นของของนักวิจัยทางการพยาบาลและ website ของเครือข่าย • พัฒนาคำถามวิจัยตามแกน theme ที่กำหนด • ประสานงานกับสถาบันการศึกษาพยาบาลที่จัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อกำหนดโครงการวิจัยนักศึกษาบัณฑิตศึกษา • จัดประชุมกลุ่มแกนวิจัยแต่ละสาขา เพื่อจัดทำโครงการขอทุนสนับสนุนจากแหล่งทุนวิจัย • รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานต่อที่ประชุมคณบดีปีละ 1 ครั้ง
กลุ่มแกนการวิจัย 1 กลุ่มแกนการวิจัย 2 กลุ่มแกนการวิจัย 3 กลุ่มแกนการวิจัย 4 กลุ่มแกนการวิจัย 5 กลุ่มแกนการวิจัย 6 กลุ่มแกนการวิจัย 7 กลุ่มแกนการวิจัย 8 โครงสร้างการบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล ที่ประชุมคณบดีฯ คณะกรรมการเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล
จัดทำ website ของเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล Http://thainurse.nures.cnu.ac.th
การดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาลการดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล • พัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล 8 กลุ่ม • ประธานกลุ่ม / ผู้รับผิดชอบ มาจากสถาบันที่เปิดสอนระดับปริญญาเอก • ให้หน่วยงานต้นสังกัดสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเดินทาง • ทค.พย. สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมของกลุ่มต่าง ๆ • หัวหน้ากลุ่มเชิญประชุมเอง
การดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล (ต่อ) • เครือข่ายวิจัยแต่ละกลุ่มนัดประชุมจัดทำ Concept paper • วางแผนการดำเนินงานของแต่ละกลุ่ม • จัดทำชุดโครงการ
12 มกราคม 2546 ประชุมกรรมการเครือข่ายอและประธานคณะทำงานกลุ่มต่าง ๆ การดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายวิจัยทางการพยาบาล (ต่อ) • ประชุมสัมนาวิพากษ์ชุดโครงการวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์ วิพากษ์โดยคุณนที เนียมสีจันทร์ คุณจงหทัย อมรวัฒนกุล • ประชุมกลุ่มพัฒนาชุดโครงการวิจัยและกำหนดแผนการดำเนินงาน • 7-8 กุมภาพันธ์ 2546
ได้กรอบวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์ 8 ด้าน (ทค.พย. เห็นชอบ 3 มีนาคม 2546) • ชุดโครงการวิจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • ชุดโครงการวิจัยด้านสุขภาพเด็กและครอบครัว • ชุดโครงการวิจัยด้านสุขภาพสตรี • ชุดโครงการวิจัยด้านวัยสูงอายุ • ชุดโครงการวิจัยผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ป่วยวิกฤติและฉุกเฉิน • ชุดโครงการวิจัยด้านสุขภาพ • ชุดโครงการวิจัยสุขภาพจิตและผู้ป่วยจิตเวช • ชุดโครงการวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการบำบัดทางการพยาบาล
ส่งกรอบวิจัยสาขาพยาบาลศาสตร์ให้ทบวงฯ เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาจัดสรรทุน • ศึกษาต่อใน / ต่างประเทศ • ทุนกิจกรรมวิชาการ - เชิญผู้เชี่ยวชาญ / ศึกษาดูงาน / เสนอผลการวิจัย
เผยแพร่กรอบการวิจัยสาขาการพยาบาลศาสตร์ให้ทุกสถาบันการศึกษาพยาบาลและคณาจารย์ทราบเผยแพร่กรอบการวิจัยสาขาการพยาบาลศาสตร์ให้ทุกสถาบันการศึกษาพยาบาลและคณาจารย์ทราบ
คณะทำงานรับผิดชอบเขียนโครงการวิจัยในคณะทำงานรับผิดชอบเขียนโครงการวิจัยใน แต่ละชุด เพื่อขอรับทุนจากแหล่งทุนและพัฒนาชุดโครงการวิจัยอื่น ๆ ในกลุ่มต่อไป
13 มิถุนายน2546 ประธาน / ผู้แทนกลุ่มวิจัย รายงานความก้าว หน้าของกลุ่มวิจัยให้ ทค.พย. ทราบ
การจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และทุนกิจกรรมวิชาการการจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และทุนกิจกรรมวิชาการ • เชิญผู้อำนวยการส่วนฝึกอบรมพัฒนาข้าราชการ ทบวงมหาวิทยาลัยให้ข้อมูลและชี้แจงแนวปฏิบัติแก่ ทค.พย. (6 กุมภาพันธ์ 46) • การจัดสรรทุน 1. ศึกษาศักยภาพในการผลิตของทุกสถาบัน (65 ทุน) 2. ศึกษาความต้องการของทุกสถาบัน (ต้องการรวม 60 ทุน)
การจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และทุนกิจกรรมวิชาการ (ต่อ) • ทค.พย. กำหนดแนวทางจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์ปีงบประมาณ 2546 1. จำนวนอาจารย์ทั้งหมดของสถาบัน 2. จำนวนอาจารย์ผู้สำเร็จการศึกษาและผู้กำลังศึกษาระดับปริญญา เอกทุกประเภททุน 3. รายชื่อผู้เกษียณอายุราชการในรอบ 5 ปี (2546-2550)
การจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และทุนกิจกรรมวิชาการ (ต่อ) • เกณฑ์การจัดสรรทุนศึกษาต่อในประเทศ (60 ทุน) 1. กลุ่มที่มีความสำคัญลำดับ 1 ทุกสถาบัน สถาบันละ 3 ทุน ยกเว้น สถาบันที่มีผู้สอบได้ไม่ถึง 3 คนให้ตามจำนวนผู้ที่สอบได้ รวม 32 คน 2. ทุนที่เหลือ (28 ทุน) เรียงลำดับความสำคัญตามอัตราส่วนอาจารย์ที่มี อยู่ในระดับปริญญาเอกต่ออาจารย์ทั้งหมด
การจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และทุนกิจกรรมวิชาการ (ต่อ) • การจัดสรรทุนศึกษาต่อต่างประเทศ 1. จัดสรรให้สถาบันที่ไม่ได้รับการจัดสรรในปีที่ผ่านมา (2545) และมี ใบตอบรับแล้ว
ทุนกิจกรรมวิชาการ • ให้ทุกสถาบันหลักที่รับผิดชอบกลุ่มวิจัยเสนอเชิญผู้เชี่ยวชาญเพื่อช่วยพัฒนางานวิจัยตามกรอบการวิจัย และ ทค.พย.จัดลำดับความสำคัญ • ใช้ประโยชน์ร่วมกัน (ได้รับการสนับสนุน 3/ 5 โครงการ)
ทุนวิจัยต่างประเทศ • พิจารณาให้ทุนแก่สถาบันที่ไม่ได้รับการจัดสรรในปี 2546 จำนวน 2 สถาบัน (ไม่ได้รับการสนับสนุน)
ทุนฝึกอบรม / ดูงาน / เสนอผลงานวิชาการ • จัดสรรให้สถาบันที่ไม่ได้รับการจัดสรรทุนในปี 2545 จำนวน 6 สถาบัน (ได้รับการสนับสนุน 1 โครงการ)
สรุปการดำเนินงานCRNN • ที่ประชุมคณบดีเป็นแกนกลางในการประสานงานและบริหารจัดการ • แต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายวิจัยและคณะทำงานเครือข่ายกลุ่มต่าง ๆ • จัดประชุมให้แนวทางการทำงานเครือข่ายวิจัย • จัดประชุมกำหนดกรอบการวิจัยร่วมกัน • จัดประชุมวิพากษ์โครงการวิจัย
สรุปการดำเนินงานCRNN (ต่อ) • คณะทำงาน / กลุ่มวิจัย ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติงานของกลุ่มและพัฒนาชุดโครงการวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุนจากแหล่งทุน • จัดประชุมวิชาการเพิ่มศักยภาพนักวิจัย • ทค.พย. ประสานงานกับ สกอ. ในการดำเนินงานตามโครงการ • ทค.พย. สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดประชุม • สถาบันต้นสังกัดสนับสนุนเวลา ค่าเดินทาง และค่าที่พักของคณะทำงาน • คณะทำงานเสนอความก้าวหน้าให้ ทค.พย. ทราบทุก 6 เดือน
CRNN วันนี้ • คณะทำงานกลุ่มต่าง ๆ อยู่ระหว่างการปรับโครงการวิจัยย่อย ๆ ภายหลัง การวิพากย์ ในวันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ 2546 • บางกลุ่มจัดทำโครงร่างวิจัยบางโครงการเสร็จแล้วและส่งขอทุนจากแหล่งต่าง ๆ • บางกลุ่มจัดทำ web page เพื่อให้ข้อมูลเฉพาะในเนื้อหาสาระของกลุ่มและแขวนกับ webของ CRNN
CRNN วันนี้ (ต่อ) • การเชิญผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนกำลังดำเนินการเป็นลำดับ • คณะทำงานกลุ่มต่าง ๆ ยังคงประสานงานเพื่อพัฒนาโครงร่างวิจัยและทำวิจัย • เสนอความก้าวหน้าให้ที่ประชุม ทค.พย. รับทราบทุก 6 เดือน
ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการ CRNN • ความไม่ชัดเจนของเป้าหมายโครงการในระยะเริ่มต้น • ไม่มีงบประมาณสนับสนุนการจัดทำโครงการ • อาจารย์มีภาระงานมากไม่สามารถมาร่วมกิจกรรมได้ • การพิจารณาทุนสนับสนุนงานวิจัยต่างประเทศ ผู้ขอรับทุนไม่ทราบเหตุผลชัดเจนในการไม่ได้รับการสนับสนุน
ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการ CRNN(ต่อ) 5. การพิจารณาทุนกิจกรรมวิชาการทราบผลใกล้ปลายปีงบประมาณ ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้ภายในปีงบประมาณ 6. การสิ้นสุดโครงการ / คณะทำงาน ยังมีความไม่ชัดเจน