750 likes | 981 Views
การจัดระบบการควบคุมภายใน. โดย นพรัตน์ พรหมนารท สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง. วันที่ 10 กันยายน 2551. การจัดระบบการควบคุมภายใน. ความสำคัญและแนวคิด หลักการเกี่ยวกับการควบคุมภายใน การประเมินผลระบบการควบคุมภายใน การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน
E N D
การจัดระบบการควบคุมภายในการจัดระบบการควบคุมภายใน โดย นพรัตน์ พรหมนารท สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง วันที่ 10 กันยายน 2551
การจัดระบบการควบคุมภายในการจัดระบบการควบคุมภายใน • ความสำคัญและแนวคิด • หลักการเกี่ยวกับการควบคุมภายใน • การประเมินผลระบบการควบคุมภายใน • การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน • วงจรการควบคุมภายใน
วางแผน (Planning) การควบคุม (Controlling) จัดองค์การ (Organizing) การใช้ภาวะผู้นำ (Leading) ความสำคัญ วงจรการบริหาร นโยบาย งบประมาณ IT วัฒนธรรมองค์การ
การบริหารราชการบรรลุเป้าหมายตามที่วางแผนการบริหารราชการบรรลุเป้าหมายตามที่วางแผน ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ตามกฎระเบียบ เชื่อถือได้ แผนปฏิบัติราชการประจำปี การควบคุม ลด ความเสี่ยง แผนของหน่วยปฏิบัติ ความสำคัญ
แนวคิด Good Governance องค์กร Internal Control Risk Management Internal Audit
แนวคิด 1. การควบคุมเป็นส่วนประกอบที่แทรกอยู่ในการปฏิบัติงานตามปกติ 2. การควบคุมเกิดขึ้นโดยบุคลากรทุกระดับขององค์กร 3. การควบคุมให้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผล ว่าจะบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
จัดวางและประเมินผลการควบคุมจัดวางและประเมินผลการควบคุม หลักการ ความเสี่ยง ควบคุม กำกับดูแล Input Process Output ประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล / คุ้มค่า
COSO = ? หลักการ COSO : The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission ( องค์กรพิเศษที่ประกอบด้วยคณะกรรมการจากสมาคมต่างๆ ที่มาร่วมประชุมเป็นคณะทำงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบ การควบคุมภายในของประเทศสหรัฐอเมริกา )
การควบคุม : ความหมาย ความหมาย ตามCOSO “Internal Control is a process, effected by an entity’s board of directors, management and other personnel, designed to provide reasonable assurance regarding the achievement of objectives in the following categories - Effectiveness and efficiency of operations - Reliability of financial reporting - compliance with applicable laws and regulations” ความหมาย ตาม คตง. “การควบคุมภายใน หมายความว่า กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยรับตรวจจัดให้มีขึ้นเพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดำเนินงานของหน่วยรับตรวจจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงาน ซึ่งรวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง หรือการทุจริตในหน่วยรับตรวจ ด้านความเชื่อถือได้ของรายงานการทางการเงิน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและมติคณะรัฐมนตรี
วัตถุประสงค์ การควบคุม • ประสิทธิภาพ • ประสิทธิผล • การดำเนินงาน • ความเชื่อถือได้ • ของรายงาน • ทางการเงิน • การปฏิบัติตาม • ข้อกำหนด การควบคุม : องค์ประกอบ องค์ประกอบ ของการควบคุม ข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร การประเมิน ความเสี่ยง การติดตาม ประเมินผล กิจกรรม การควบคุม สภาพแวดล้อมของการควบคุม
สภาพแวดล้อมของการควบคุมสภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment) มาตรฐาน: ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหาร และบุคลากรของหน่วยรับตรวจต้องสร้างบรรยากาศของการควบคุมเพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการควบคุมภายใน โดยส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนในหน่วยงานรับตรวจเกิดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบและตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของการควบคุมภายใน รวมทั้งดำรงรักษาไว้ซึ่งสภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดี
การตรวจสอบภายใน ปรัชญา/ลักษณะการทำงานของผู้บริหาร ความซื่อสัตย์/จริยธรรม ความรู้ ความสามารถทักษะของบุคลากร โครงสร้างการจัดองค์การ นโยบาย/การบริหารทรัพยากรบุคคล การมอบอำนาจหน้าที่/ ความรับผิดชอบ สภาพแวดล้อมของการควบคุม หมายถึง สภาวการณ์หรือปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลให้เกิดระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน ให้เกิดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบให้บรรลุเป้าหมาย
สภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดีสภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดี • บุคลากรมีความรับผิดชอบและเข้าใจอำนาจหน้าที่ของตน • บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ และทักษะที่จำเป็น ในการปฏิบัติงาน • บุคลากรยอมรับ และปฏิบัติตามนโยบายการปฏิบัติงาน • บุคลากรมีจริยธรรม และศีลธรรมอันดี
การประเมินความเสี่ยง ( Risk Assessment ) บริหาร • โครงสร้าง • ระบบงาน • คน • ทรัพย์สิน • งบประมาณ วิเคราะห์/จัดลำดับ * ยอมรับ * ป้องกัน/ควบคุม * ถ่ายโอน/กระจาย * หลีกเลี่ยง ระบุ * โอกาส * ผลกระทบ ศึกษา ทำความเข้าใจ * ความเสี่ยงอะไร * ส่งผลกระทบ อย่างไร วัตถุประสงค์ เป้าหมาย หมายถึง การระบุปัจจัยเสี่ยงและวิเคราะห์ความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ รวมถึงการจัดลำดับ ความสำคัญว่าเหตุการณ์ใด/เงื่อนไขใดที่จะมีผลกระทบต่อการไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน ทราบความเสี่ยงและหาทางลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
การประเมินความเสี่ยง ( Risk Assessment ) การวิเคราะห์ระดับความเสี่ยง ผลกระทบ โอกาสที่จะเกิด
กิจกรรมการควบคุม ( Control Activities ) การควบคุมกลยุทธ์ ผู้บริหารระดับสูง กรม ควบคุมการบริหารโครงการ ผู้บริหารระดับกลาง สำนัก / กอง ควบคุมการปฏิบัติงาน ผู้บริหารระดับต้น ส่วน / ฝ่าย หมายถึง นโยบาย มาตรการ และวิธีการต่างๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดหรือนำมาใช้ เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น และช่วยเพิ่มความมั่นใจในความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ฝ่ายบริหาร (ทุกระดับ) กำหนดกิจกรรมการควบคุมให้กับบุคลากรของหน่วยปฏิบัติ
กิจกรรมการควบคุม ( Control Activities ) การบริหารบุคลากร กิจกรรม การควบคุม การบริหารงาน การบริหารทรัพย์สิน การบริหารเงิน
การควบคุมที่มองไม่เห็น(Soft Controls) ความซื่อสัตย์ ความโปร่งใส การมีภาวะผู้นำที่ดี ความมีจริยธรรม การควบคุมที่มองเห็นได้(Hard Controls) โครงสร้างองค์กร นโยบาย ระเบียบวิธีปฏิบัติ กิจกรรมการควบคุม ( Control Activities ) ลักษณะของการควบคุม
ประเภทของการควบคุมภายในประเภทของการควบคุมภายใน 1. การควบคุมแบบป้องกัน ( Preventive Controls ) 2. การควบคุมแบบค้นพบ ( Detective Controls ) 3. การควบคุมแบบแก้ไข ( Corrective Controls ) 4. การควบคุมแบบสั่งการ ( Directive Controls ) 5. การควบคุมแบบทดแทน ( Compensating Controls ) กิจกรรมการควบคุม ( Control Activities )
กิจกรรมการควบคุม ( Control Activities ) ตัวอย่างกิจกรรมการควบคุม • นโยบาย • การวางแผน • การกำกับดูแล • การสอบทาน • การรายงาน • การสั่งการ การสื่อสาร • การมอบหมายหน้าที่ ความรับผิดชอบ • การแบ่งแยกหน้าที่ • การอนุมัติ • การให้ความเห็นชอบ • แนวทางการปฏิบัติงาน คู่มือ • การให้ความรู้ ความเข้าใจ • การรวบรวม จัดเก็บเอกสาร • การจดบันทึก การประมวลผลข้อมูล • การตรวจนับ • ฯ ล ฯ
สารสนเทศและการสื่อสาร ( Monitoring and Evaluation ) สารสนเทศ การเงิน ไม่ใช่การเงิน อื่นๆ ภายใน ภายนอก การสื่อสาร หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน ภายใน ภายนอก สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารที่ใช้ในการบริหาร ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับการเงินและ ไม่ใช่การเงิน รวมทั้งข้อมูลข่าวสารอื่นๆ ทั้งจากแหล่งภายในและภายนอก การสื่อสารหมายถึง การรับและส่งข้อมูลระหว่างกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่าง บุคคล ซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบในงานที่สัมพันธ์กัน การสื่อสารจะเกิดได้ทั้งภายในและ ภายนอกหน่วยงาน ข้อมูลข่าวสารที่เพียงพอ ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน การสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง และทันเวลา
การติดตามและประเมินผล ( Monitoring and Evaluation ) INPUTPROCESSOUTPUT CONTROL ติดตามระหว่างการปฏิบัติงาน ประเมินผล * ด้วยตนเอง (CSA) * อย่างอิสระ (ผู้ตรวจสอบภายใน / อื่นๆ) การติดตามผล หมายถึง การสอดส่องดูแลกิจกรรมที่อยู่ระหว่างการดำเนินงาน เพื่อให้ เกิดความมั่นใจว่าการดำเนินงานเป็นไปตามระบบการควบคุมภายในที่กำหนด การประเมินผล หมายถึง การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับระบบการควบคุมภายใน ที่กำหนดไว้ว่ามีความสอดคล้องหรือไม่ เพียงใด และประเมินระบบการควบคุมภายในที่ กำหนดไว้ว่ายังเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในปัจจุบันหรือไม่ ภารกิจ ต้องดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง
ระบบควบคุม การดำเนินงานของแต่ละหน่วยงาน ลดความเสี่ยง สิ่งที่ต้องการ ระบบปฏิบัติงาน กระบวนการทำงาน
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้การควบคุมภายในประสบความสำเร็จปัจจัยสำคัญที่ทำให้การควบคุมภายในประสบความสำเร็จ ปัจจัยผลักดัน 1. วัตถุประสงค์ ( Purpose ) ชัดเจน 2. ข้อตกลงร่วมกัน ( Commitment ) 3. ความสามารถ ( Capability ) ในการบริหารงาน 4. การปฏิบัติการ ( Action ) 5. การเรียนรู้ ( Learning )
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้การควบคุมภายในประสบความสำเร็จปัจจัยสำคัญที่ทำให้การควบคุมภายในประสบความสำเร็จ ปัจจัยเกื้อหนุน 1. ผู้บริหารให้ความสำคัญ 2. การประเมินความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงอย่างสม่ำเสมอ 3. การจัดการทรัพยากรบุคคลเป็นระบบ/เหมาสะม 4. มีความรับผิดชอบและจิตสำนึกของบุคลากรทุกระดับ
การตัดสินใจของผู้บริหารการตัดสินใจของผู้บริหาร การสื่อสาร บุคลากร ต้นทุนสูง การทุจริต เหตุการณ์ที่ไม่สามารถควบคุมได้ ข้อจำกัดของ ระบบการควบคุมภายใน
การประเมินผลระบบการควบคุมภายในการประเมินผลระบบการควบคุมภายใน ความหมาย:- การพิจารณาถึงผลสัมฤทธิ์ของระบบการควบคุมภายในที่มีอยู่ในหน่วยงาน วัตถุประสงค์:- สามารถป้องกันหรือลดความเสี่ยง บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ปรับปรุง/แก้ไขเหมาะสมและทันเวลา
การประเมินผลระบบการควบคุมภายในการประเมินผลระบบการควบคุมภายใน ประเด็นการประเมิน:- การควบคุมภายในเพียงพอ เหมาะสม และ มีการปฏิบัติจริง 2. ข้อตรวจพบจากการสอบทานอื่นๆ ได้รับการปรับปรุงแก้ไขอย่างเหมาะสมและทันเวลา 3. การควบคุมภายในได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับสถานการณ์
การประเมินผลระบบการควบคุมภายในการประเมินผลระบบการควบคุมภายใน • การประเมินผลการควบคุมอย่างเป็นอิสระ ( Independent Assessment ) • การประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง ( Control Self Assessment )
การประเมินผลระบบการควบคุมภายในการประเมินผลระบบการควบคุมภายใน การประเมินผลการควบคุมอย่างเป็นอิสระ การประเมินผลโดยผู้ที่ไม่มีที่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการกำหนดมาตรการหรือออกแบบระบบการควบคุม ภายในของหน่วยงาน * ผู้ตรวจสอบภายใน * หน่วยงานประเมินผล * ผู้ตรวจสอบ/ประเมินภายนอก
การประเมินผลระบบการควบคุมภายในการประเมินผลระบบการควบคุมภายใน การประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง การประเมินผลในลักษณะความร่วมมือกันระหว่าง ผู้บริหารกับผู้ปฏิบัติงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการปฏิบัติงานตามระบบการควบคุมภายในที่วางไว้ * ผู้บริหาร * ผู้ปฏิบัติงาน ของหน่วยงานที่ประเมิน
การประเมินผลการควบคุมด้วยตนเองการประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง ผลที่ได้ การเข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงกระบวนการทำงานและวัตถุประสงค์ของงานนั้น ๆ การเข้าใจความเสี่ยงที่อาจมีผลกระทบต่อ วัตถุประสงค์ของงาน การปรับปรุงระบบการควบคุมภายในให้เหมาะสม
การประเมินผลการควบคุมด้วยตนเองการประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง ประโยชน์ ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน 1. มีความรู้สึกเป็นเจ้าของกระบวนการ 2. มีความเข้าใจที่ดีขึ้นเกี่ยวกับความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ตลอดจนหาแนวทางการป้องกันที่เหมาะสม 3. มีกระบวนการประเมินผลที่เป็นระบบ 4. มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์
การประเมินผลการควบคุมด้วยตนเองการประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง ประโยชน์ ผู้ตรวจสอบ • มีความเข้าใจที่ดีขึ้นเกี่ยวกับความเสี่ยงและ การควบคุมภายในของหน่วยงาน • ลดขั้นตอนและเวลาในการปฏิบัติงานโดยเพิ่มประสิทธิภาพในด้านอื่น ๆ
การประเมินผลการควบคุมด้วยตนเองการประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ความร่วมมือของบุคลากรในหน่วยงาน ความสามารถของผู้ประสานงาน การเลือกเทคนิคหรือวิธีการที่เหมาะสม
การประเมินผลการควบคุมด้วยตนเองการประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง วิธีการ • การใช้แบบสอบถาม(Questionnaires) • การประชุมเชิงปฏิบัติการ(Workshop) • การจัดทำแผนภาพ(Flowchart) • การระดมความคิดหรือระดมสมอง (Brainstorming)
วางแผน * เรื่อง * ความถึ่ * ทรัพยากร * ผลการควบคุม * ข้อเสนอแนะ สอบทาน การปฏิบัติงาน รายงานผล * เปรียบเทียบ วิเคราะห์และประมวลผล * เพียงพอ เหมาะสม * ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัด การประเมินผลระบบการควบคุมภายใน กระบวนการประเมินผล
การจัดทำรายงานการควบคุมภายในการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วย การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 กำหนดให้หน่วยรับตรวจ (ในส่วนภูมิภาคจะหมายถึงหน่วยงานของราชการส่วนภูมิภาคซึ่งจะมีจำนวนประมาณ31หน่วยงานในแต่ละจังหวัด) เป็นผู้จัดวางระบบการควบคุมภายในและให้มีการรายงานผลการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน โดยให้เสนอต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) ผู้กำกับดูแล (ผู้ว่าราชการจังหวัด) และคณะกรรมการตรวจสอบ (ถ้ามี) ภายใน 90 วันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ
โครงสร้างราชการบริหารราชการส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นโครงสร้างราชการบริหารราชการส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น • สนง.ประชาสัมพันธ์จังหวัด • สนง.คลังจังหวัด/สนง.คลังจังหวัด ณ อำเภอ • สนง.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด • สนง.เกษตรและสหกรณ์จังหวัด • สนง.ประมงจังหวัด/อำเภอ • สนง.ปศุสัตว์จังหวัด/อำเภอ • สนง.เกษตรจังหวัด/อำเภอ • สนง.สหกรณ์จังหวัด • สนง.ปฏิรูปที่ดินจังหวัด • สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด • สนง.ขนส่งจังหวัด • สนง.สถิติจังหวัด • สนง.พาณิชย์จังหวัด • สนง.จังหวัด • ที่ทำการปกครองจังหวัด • สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัด • ที่ทำการที่ดินจังหวัดและสาขา • สนง.โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด • เรือนจำจังหวัด/อำเภอ • สนง.แรงงานจังหวัด • สนง.จัดหางานจังหวัด • สนง.สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด • สนง.ประกันสังคมจังหวัด • สนง.สาธารณสุขจังหวัด • สนง.อุตสาหกรรมจังหวัด • สนง.วัฒนธรรมจังหวัด • สนง.พระพุทธศาสนาจังหวัด • สนง.การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด • สนง.คุมประพฤติจังหวัด • สนง.บังคับคดีจังหวัด • สนง.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
การจัดทำรายงานการควบคุมภายในการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน รายงานผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ตามมาตรฐานฯ ข้อ 6 • หน่วยงานย่อย • ปย. 1 หนังสือรับรองการควบคุมภายใน • ของผู้บริหารระดับหน่วยงานย่อย • ปย. 2 สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของ • มาตรฐานการควบคุมภายใน • ปย. 2-1 รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ • ของมาตรฐานการควบคุมภายใน • ปย. 3 แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน • ติดตามปย. 3 รายงานผลการติดตามการปฏิบัติ • ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน • ปม. แบบประเมินการควบคุมภายใน • หน่วยรับตรวจ (องค์กร) • ปอ. 1 รายงานความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายใน • ของหัวหน้าหน่วยงาน (ส่วนราชการ) • ปอ. 2 สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของ • มาตรฐานการควบคุมภายใน • ปอ. 2-1 รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ • ของมาตรฐานการควบคุมภายใน • ปอ. 3 แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน • ติดตามปอ. 3 รายงานผลการติดตามการปฏิบัติ • ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน เจ้าหน้าที่ระดับอาวุโส - ปย. 1-ร หนังสือรับรองการควบคุมภายในของเจ้าหน้าที่ระดับอาวุโส ผู้ประเมินอิสระ ผู้ตรวจสอบภายใน - ปส. รายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน
การจัดทำรายงานการควบคุมภายในการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน รายงานผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ตามมาตรฐานฯ ข้อ 6 • หน่วยงานย่อยในจังหวัดคือ ฝ่ายต่างๆ ในหน่วยงาน / หน่วยงานย่อยของ ส่วนราชการส่วนภูมิภาค • หน่วยรับตรวจ (องค์กร)ในจังหวัดคือ ส่วนราชการส่วนภูมิภาค • เจ้าหน้าที่ระดับอาวุโส ในจังหวัดคือ ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าหน่วยงาน • ผู้ตรวจสอบภายใน ในจังหวัดคือ ผู้ตรวจสอบภายในของแต่ละหน่วยงาน
ปย.2-1 ปย.2 1 2 7 5 6 ปม. ปย.3 ปย.1 จุดอ่อนของ การควบคุมภายใน ปย.3 (งวดก่อน) 3 ติดตาม ปย.3 4 การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ขั้นตอนการจัดทำรายงานระดับหน่วยงาน
ขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ขั้นตอนที่ 1 ประเมินแต่ละองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของ มาตรฐานการควบคุมภายใน (ปย.2-1) สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของ มาตรฐานการควบคุมภายใน (ปย.2)
ขั้นตอนที่ 1 ประเมินแต่ละองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของ มาตรฐานการควบคุมภายใน (ปย.2-1)
ขั้นตอนที่ 1 ประเมินแต่ละองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน (ต่อ) องค์ประกอบการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจการรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของ มาตรฐานการควบคุมภายใน (ปย.2) สรุปผลการประเมิน : โครงสร้างการควบคุมภายในของ ....................... ครบ 5 องค์ประกอบ ตามมาตรฐานการควบคุมภายในของคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน (อย่างไรก็ตาม มีจุดอ่อนที่ต้องปรับปรุงการควบคุมภายในดังนี้)
ขั้นตอนที่ 1 ประเมินแต่ละองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน (ต่อ) องค์ประกอบการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจการรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล ปย. 2-1 ปย. 2
ขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ขั้นตอนที่ 2 ติดตามผลการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน แผนการปรับปรุง การควบคุมภายในงวดก่อน (ค.3 / ปย.3 / ปม.) ความเสี่ยงที่มีนัยสำคัญและ กิจกรรมการควบคุม (ค.2) รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตาม แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ติดตาม ปย.3) นำเสนอผลการดำเนินการตามแผนการปรับปรุง การควบคุมภายในของงวดก่อน
ขั้นตอนที่ 2 ติดตามผลการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน ผลการดำเนินการสามารถลดจุดอ่อนของการควบคุม ความคืบหน้าของการดำเนินการ รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตาม แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ติดตาม ปย.3) • สถานะการดำเนินการ : • = ดำเนินการแล้วเสร็จตามกำหนด • = ดำเนินการแล้วเสร็จล่าช้ากว่ากำหนด • X = ยังไม่ดำเนินการ • O = อยู่ระหว่างดำเนินการ สาเหตุที่ยังไม่ได้ดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 2 ติดตามผลการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน (ต่อ) ปย. 3 งวดก่อน ติดตาม ปย. 3 ประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อเท็จจริง
แผนการปรับปรุง การควบคุมภายใน (ปย.3) ขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ขั้นตอนที่ 3 พิจารณาความเพียงพอและเหมาะสมของการควบคุมภายใน 1 สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของ มาตรฐานการควบคุมภายใน (ปย.2) แบบประเมินการควบคุมภายใน (ปม.) รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตาม แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ติดตาม ปย.3) 2