240 likes | 472 Views
C-Programming. บทที่ 6 ตัวแปรในภาษาซี. C Programming. C-Programming. มีอะไรบ้างในบทนี้. C Programming. 3.1 การเก็บค่าในภาษาซี 3.2 กฎการตั้งชื่อตัวแปร 3.3 วิธีการสร้างตัวแปรและการกำหนดค่า 3.4 ภาษาซีกับตัวแปรแบบข้อความ 3.5 การแสดงค่าจากตัวแปร 3.6 การนำตัวแปรไปใช้ในการคำนวณ
E N D
C-Programming บทที่ 6 ตัวแปรในภาษาซี C Programming
C-Programming มีอะไรบ้างในบทนี้ C Programming • 3.1 การเก็บค่าในภาษาซี • 3.2 กฎการตั้งชื่อตัวแปร • 3.3 วิธีการสร้างตัวแปรและการกำหนดค่า • 3.4 ภาษาซีกับตัวแปรแบบข้อความ • 3.5 การแสดงค่าจากตัวแปร • 3.6 การนำตัวแปรไปใช้ในการคำนวณ • 3.7 การรับค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร • 3.8 ค่าคงที่ในภาษาซี • 3.9 สรุป จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming 3.1 การเก็บค่าในภาษา C C Programming • มี 2 ลักษณะคือ • เก็บค่าแบบค่าคงที่(constant) • เก็บค่าแบบตัวแปร(variable) • ค่าคงที่เมื่อสร้างขึ้นมาแล้วเราจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขค่าได้เลย เช่น a=20; • การเก็บค่าแบบตัวแปรสามารถเปลี่ยนแปลงค่าเป็นอะไรก็ได้ตามที่ต้องการ เช่น char ch; จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming 3.1 การเก็บค่าในภาษา C C Programming • การสร้างตัวแปรจะต้องทราบว่าตัวแปรนั้นเก็บค่าอะไร เช่น เลขจำนวนเต็ม เลขทศนิยม ข้อความ หรือตัวอักษร เป็นต้นโดยแบ่งออกเป็นประเภทดังนี้ • Character Variable ตัวแปรที่ใช้เก็บอักขระ • Integer Variable ตัวแปรที่ใช้เก็บเลขจำนวนเต็ม • Float Variable ตัวแปรที่ใช้เก็บเลขจำนวนทศนิยม จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming Character Variable C Programming • แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ • Char เก็บค่า ASCII ของตัวอักษรได้ตั้งแต่ -128 ถึง 127 • Unsigned char เก็บค่า ASCII ของตัวอักษรได้ตั้งแต่ 0-255 • ตัวแปรแบบ character จะใช้ในกรณีที่เราต้องการเก็บอักขระ 1 ตัว เช่น a,b หรือ c เป็นต้น สิ่งที่เราเก็บก็คือ ตัวอักษร 1 ตัว ซึ่งมีค่า ASCII อยู่ระหว่าง 0 ถึง 255 ดังนั้นถ้าเราประกาศตัวแปรแบบ char เราจะใช้ตัวแปรนั้นเก็บข้อมูลได้เป็นค่าใดค่าหนึ่งในรหัส ASCII เท่านั้น จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming Character Variable C Programming • วิธีประกาศตัวแปรแบบ Character เขียนได้ดังนี้ • char ch; • unsigned char c; • ส่วนมากแล้วมักไม่มีความแตกต่างระหว่าง char และ unsigned char ดังนั้นจึงมักประกาศเป็น char เป็นส่วนใหญ่ -128 ถึง127 0 ถึง255 จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming Integer Variable C Programming • แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ • int หรือ short เก็บเลขจำนวนเต็มตั้งแต่ -32,768ถึง 32,767 • Long เก็บเลขจำนวนเต็มตั้งแต่-2,147,483,648ถึง2,147,483,647 • วิธีการใช้คือถ้าต้องการตัวเลขจำนวนเต็มมากกว่า 32,767 เราจะต้องประกาศตัวแปรแบบ long ถ้าน้อยกว่าก็ประกาศแบบ int ดังตัวอย่าง จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming Integer Variable C Programming • int a,b,c; • int age; • int height; • long salary,money; • เราประกาศตัวแปร a,b,c ageheight แบบ int เนื่องจาก ต้องการให้เก็บค่าที่อยู่ระหว่าง -32,768 ถึง 32,767 เท่านั้น แต่ salary และ money มีโอกาสจะมีค่ามากกว่า นั้นดังนั้นจึงต้องประกาศเป็น long จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming Float Variable C Programming • แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ • Float เก็บทศนิยมได้ 3.4E+/-38 (ทศนิยม 7 ตำแหน่ง) • Double เก็บทศนิยมได้ 1.7E+/-308 (ทศนิยม 15 ตำแหน่ง) • Long Double เก็บทศนิยมได้ 1.2E+/-4932 (ทศนิยม 19 ตำแหน่ง) float grade; double rate; long double longrate; จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming กฎการตั้งชื่อตัวแปร C Programming • ต้องไม่มีอักษรพิเศษใดๆ ประกอบอยู่ด้วย เช่น ! @ # $ % ^ & * ( • สามารถใช้เครื่องหมาย underscore ( _ ) ได้ • ชื่อตัวแปรมีตัวเลขปนอยู่ได้ แต่ต้องไม่ขึ้นต้นด้วยตัวเลข • ห้ามมีช่องว่างระหว่างชื่อ • ใช้ได้ทั้งพิมพ์เล็ก และพิมพ์ใหญ่ • ชื่อเหมือนกันแต่เป็นพิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่ ถือว่าคนละชื่อกัน • ห้ามตั้งชื่อซ้ำกับคำสงวน เช่น char long while do จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
#include<stdio.h> void main() { int age; char sex; float grade; age = 20; sex = ‘f’; grade = 3.14; } #include<stdio.h> void main() { int age = 20; char sex = ‘f’; float grade = 3.14; } C-Programming 3.3 วิธีการสร้างตัวแปรและการกำหนดค่า C Programming จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming 3.4 ภาษาซีกับตัวแปรแบบข้อความ C Programming • นำตัวแปร charมาเรียงต่อกันเรียกว่าตัวแปรแบบสตริง(String) • การประกาศตัวแปรแบบสตริง จะต้องกำหนดขนาดด้วยตัวอย่าง • char name[15] = “Jacky Chan”; • ตัวแปรชื่อ nameมีความยาว 15 ช่องตัวอักษร และเก็บข้อความ Jacky Chanเอาไว้ ซึ่งการประกาศตัวแปร 15 ช่องเอาไว้ ที่เหลือจะเป็นช่องว่างเฉยๆ ไม่มีตัวอักษรบรรจุอยู่ J a c k y C h a n 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming 3.5 การแสดงค่าจากตัวแปร C Programming #include<stdio.h> void main() { int age = 20; char sex = ‘f’; float grade = 3.14; char name[10] = “malee”; printf(“You are %s\n”,name); printf(“You are %c\n”,sex); printf(“You are %d years old\n”,age); printf(“You grade is %f\n”,grade); } You are malee You are f You are 20 years old Your grade is 3.140000 จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming ตารางแสดงสัญลักษณ์แสดงผล C Programming สัญลักษณ์ ใช้สำหรับ %d แสดงค่าที่เป็นเลขจำนวนเต็ม %s แสดงค่าที่เป็นสตริง %f แสดงค่าที่เป็นเลขทศนิยม %c แสดงค่าที่เป็นตัวอักษร 1 ตัว %o แสดงค่าของตัวเลขในรูปฐานแปด %x แสดงค่าของตัวเลขในรูปฐานสิบหก จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming 3.6 การนำตัวแปรไปใช้ในการคำนวณ C Programming #include<stdio.h> void main() { int a; int b; int c; int ans; a = 20; b = 40; c = 5; ans = (a+b)/c; printf(“Answer is %d\n”, ans); } Answer is 12 จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming เครื่องหมายที่ใช้กับตัวแปร C Programming ++ เพิ่มค่าขึ้น 1 -- ลดค่าลง 1 += เพิ่มค่าตามจำนวนที่ต้องการ -= ลดค่าตามจำนวนที่ต้องการ *= คูณค่าในตัวแปรด้วยจำนวนที่ต้องการ /= หารค่าในตัวแปรด้วยจำนวนที่ต้องการ จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming เครื่องหมายที่ใช้กับตัวแปร C Programming int a = 5; int b = 6; คำสั่ง มีผลเหมือนกับ ผลที่ได้ a+=4; a=a+4; บวกค่าอีก 4 b--; b=b-1; ลดค่าลงไป 1 a*=2; a=a*2; a คูณ 2 a/=2 a=a/2; a หารด้วย 2 จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming 3.7 การรับค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร C Programming ตัวอย่างscanf1.c #include<stdio.h> void main() { int age; printf(“How old are you ?\n”); scanf(“%d”,&age); printf(“You are %d years old.\n”,age); } How old are you? 20 You are 20 years old. จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming 3.7 การรับค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร C Programming ตัวอย่าง scanf2.c #include<stdio.h> void main() { char sex; printf(“You are male (M) or female (F) ?\n”); scanf(“%c”,&sex); printf(“You are sex is %c.\n”,sex); } You are male (M) or female (F) ? M You are sex is M. จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming ตัวอย่าง scanf3.c C Programming #include<stdio.h> void main() { char name[15]; double grade; printf(“What is your name ?\n”); scanf(“%s”, name); printf(“Enter your GPA ”); scanf(“%f”,&grade); printf(“Hello %s, your GPA is %f.\n”, name ,grade); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming 3.8 ค่าคงที่ในภาษาซี C Programming • ค่าคงที่จะต่างจากตัวแปรที่ค่าคงที่จะเก็บค่าเอาไว้เพียงค่าเดียวตลอดทั้งโปรแกรม โดยที่เราสร้างค่าคงที่แล้วจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าของมันได้ • การตั้งชื่อค่าคงที่จะใช้กฎเดียวกันกับการตั้งชื่อตัวแปร แต่นิยมตั้งชื่อค่าคงที่ให้เป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด เพื่อให้เกิดความแตกต่างระหว่างชื่อตัวแปรกับชื่อค่าคงที่ • ค่าคงที่ในภาษาซีมี 2 คำสั่งคือ • คำสั่ง const • และ #define จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming การใช้คำสั่ง constสร้างค่าคงที่ C Programming ตัวอย่างโปรแกรม const1.c #include<stdio.h> void main() { const double pi=3.14; const float K=4; const char ch= ‘A’; const char company[10]=“INTER”; printf(“pi = %d\n”,pi); printf(“K = %f\n”,K); printf(“ch = %d\n”,ch); printf(“company name = %s”,company); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming การใช้คำสั่ง #defineสร้างค่าคงที่ C Programming ตัวอย่างโปรแกรม define1.c #include<stdio.h> #define PI 3.14 #define NAME “SASALAK” #define CH ‘a’ void main() { printf(“PI = %f\n”,PI); printf(“NAME = %s\n”,NAME); printf(“PI = %c\n”,CH); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555
C-Programming การใช้คำสั่ง #defineสร้างค่าคงที่ C Programming ตัวอย่างโปรแกรม define2.c #include<stdio.h> #define PI 3.14 #define AREA(x) PI*x*x void main() { int r; printf(“R = ?”); scanf(“%d”, &r); printf(“Area = %f”,AREA(r) ); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555