1 / 12

วิกฤติการศึกษาของชาติและแนวทางแก้ไขแบบบูรณาการ กฤษณพงศ์ กีรติกร

วิกฤติการศึกษาของชาติและแนวทางแก้ไขแบบบูรณาการ กฤษณพงศ์ กีรติกร. 9 มิถุนายน 2550. กลุ่มศึกษาภิวัฒน์และกลุ่มธรรมาธิปไตย. 2500. มหาวิทยาลัย เฉพาะทาง. มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และการเมือง. โรงเรียนหลวง โรงเรียนภาษาอังกฤษ โรงเรียนทหารมหาดเล็ก พระตำหนักสวนกุหลาบ โรงเรียนทำแผนที่

casey-perez
Download Presentation

วิกฤติการศึกษาของชาติและแนวทางแก้ไขแบบบูรณาการ กฤษณพงศ์ กีรติกร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิกฤติการศึกษาของชาติและแนวทางแก้ไขแบบบูรณาการวิกฤติการศึกษาของชาติและแนวทางแก้ไขแบบบูรณาการ กฤษณพงศ์ กีรติกร 9 มิถุนายน 2550 กลุ่มศึกษาภิวัฒน์และกลุ่มธรรมาธิปไตย

  2. 2500 มหาวิทยาลัย เฉพาะทาง มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และการเมือง โรงเรียนหลวง โรงเรียนภาษาอังกฤษ โรงเรียนทหารมหาดเล็ก พระตำหนักสวนกุหลาบ โรงเรียนทำแผนที่ โรงเรียนราชกุมาร โรงเรียนพระปริยัติธรรม เปลี่ยนแปลง การปกครอง 2480 สงครามโลก ครั้งที่สองยุติ โรงเรียนข้าราชการ พลเรือน 2453 2460 โรงเรียนฝึกหัด อาจารย์ 2435 แผนการศึกษาชาติ 2475 ศึกษาพฤกษ์ (พุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา) 2440 แผนการศึกษาชาติ 2445 พรบ.ประถมศึกษา โครงการศึกษา 2464 “..ประเทศไทยยังมีอาชีพอย่างอื่นอีกหลาย อาชีพ หากมุ่งแต่จะยึดเอาอาชีพราชการแต่ อย่างเดียว การเศรษฐกิจของชาติก็จะตกอยู่ ในมือของต่างด้าว เพราะฉะนั้นจึงต้องวาง “การศึกษาสำหรับชาติ” (National Education) ขึ้นไว้ให้ทุกคนได้รับการศึกษาตามควรแก่ อัตภาพ ให้มีวิสามัญศึกษาอันเป็นการศึกษา สำหรับไปประกอบอาชีพ.... โครงการศึกษาชาติ 2541 กระทรวงศึกษาธิการ (2435) 2420 โรงเรียนเชลยศักดิ์ กรมศึกษาธิการ (2430) โรงเรียนแรก สำหรับราษฏร (2428) 2400

  3. แผนการศึกษาชาติ 2475

  4. Proliferation ของอุดมศึกษา • หลังสงครามโลก ความช่วยเหลือด้านการศึกษาของอเมริกา • สร้าง Americanization ของการศึกษาไทย • การขยายการศึกษาพื้นฐาน เอาโรงเรียนประชาบาลออกจากวัด • การขยายการศึกษาพื้นฐาน ครูมาจากต่างถิ่น 2550 • การลดของประชากรทำให้ • โรงเรียนเริ่มร้างในทศวรรษ • 2540 • พรบ.การศึกษา 2542และ • การปฏิรูปการศึกษา • การเลือกตั้งโดยรัฐบาลทหารตั้งแต่ต้นทศวรรษ 2500 • ดึงครูเป็นหัวคะแนน ครูเข้าสู่วงจรการเมือง 2530 • การขยายการศึกษาขั้นพื้นฐานมากตั้งแต่ • ทศวรรษ 2510 เพิ่มการเร่งผลิตครูรวมทั้งรัฐใช้ • การเรียนรู้เป็นเครื่องมือการเมือง นำมาสู่การตกงาน • ของครูในทศวรรษ 2540 2510 • เริ่มแผนพัฒนาฉบับแรกในทศวรรษ 2500 มีการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรม • การลงทุนไม่เชื่อมกับการสร้างความความเข้มแข็งของการพัฒนากำลังคน • อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา การถ่ายทอดเทคโนโลยี การวิจัย • อาชีพภาคเอกชนเป็นทางเลือก อาชีพราชการและครูเริ่มตกต่ำ 2490 การเริ่มลดของการเพิ่มประชากร

  5. ความตกต่ำของอาชีพครูและคุณภาพของผู้เรียนครู ความตกต่ำของอาชีพครูและคุณภาพของผู้เรียนครู • ครูเป็นเป้าหมายของกลไกการเมืองระดับประเทศ ระดับท้องถิ่น • องค์กรครูมีสภาพเป็นองค์กรการเมืองเพิ่มขึ้น • การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและการปรับตัวของการ • จัดการศึกษา • คุณภาพการศึกษา • โรงเรียนร้าง • แรงเสียดทานของการปฏิรูปการศึกษาพ.ศ. 2542 • การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น(การศึกษา สุขภาพ สิ่งแวดล้อม) • ลักษณะและพฤติกรรมของเด็กที่เปลี่ยนไป (ครอบครัวเดี่ยว • และการเติบโตและการเรียนรู้ในโลกไซเบอร์) • ความรู้สมัยใหม่เรื่องพัฒนาการสมองและการเรียนรู้ ปัจจุบัน

  6. มิติสื่อ/การเรียนรู้ • 91%มีโทรศัพท์มือถือ 23% ส่ง sms ทุกวัน • 16% โหลดภาพเพลงทุกวัน • 34% เล่นเกมคอมพิวเตอร์/เกมออนไลน์เป็นประจำ • พูดโทรศัพท์ 74 นาทีต่อวัน ดูทีวี 154 นาที ต่อวัน • 56% เข้าเน็ตทุกวันเฉลี่ยวันละ 105 นาที • 39% ดูVCD โป๊ 27% ดูเว็ปโป๊ 30% ดูการ์ตูนโป๊ • อ่านหนังสือ 81 นาที ทำการบ้าน/รายงาน 86 นาทีต่อวัน • 35%โดดเรียนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ • 9%เรียนพิเศษ เสียค่าใช้จ่ายเฉลี่ยคอร์สละ 2,000 บาท • มิติครอบครัว/ศาสนา • 47% ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ • 51% ไปไหนมาไหนกับพ่อแม่พิ่น้องวันเสาร์-อาทิตย์ • 34% ไปวัดวันเสาร์-อาทิตย์ • 41% ใส่บาตรทำบุญวันเสาร์-อาทิตย์ • มิติการใช้ชีวิต • 23% ทำงานหารายได้พิเศษ • 62% เล่นกีฬา/ออกกำลังกายเป็นประจำเฉลี่ยวันละ 75 นาที • 47%อยู่บ้าน/หอเพื่อนเป็นประจำ เฉลี่ยวันละ 113 นาที • 49% กินเหล้า 23%สูบบุหรี่ • 31%เที่ยวกลางคืนวันเสาร์-อาทิตย์ • 17%เล่นพนันบอล 27% เล่นหวยบนดิน • 30% ยอมรับว่าเคยมีเพศสัมพันธ์แล้ว • 20%อยากทำศัลยกรรมปรับปรุงภาพลักษณ์ • มิติปัญหา/ภาวะเสี่ยง • 18% เคยพบเห็นการเสพยาเสพติดในสถานศึกษา • 6% เคยถูกขู่กรรโชกทรัพย์ 9% เคยถูกทำร้ายร่างกาย ในสถานศึกษา • 2%ออกกลางคัน 3% ย้ายสถานศึกษา • เยาวชนต่ำกว่า 25 ปีก่อคดีอาชญากรรม 32,000 คดีต่อปี • วัยรุ่นต่ำกว่า 19 ปีมาทำคลอดปีละ 70,000 คน • เยาวชนต่ำกว่า 25 ปีเสียชีวิตจากอุบัติเหตุมอเตอร์ไซด์ ปีละ 7,000 คน • เยาวชน 19-25 ปี พยายามฆ่าตัวตายตายปีละ 4,000 คน ที่มา: โครงการ Child Watch ,สภาวการณ์เด็กและเยาวชนปี 2548-25491 จากข้อมูลตัวบ่งชี้ทุติยภูมิ และการสำรวจจากกลุ่มตัวอย่างในจังหวัดที่มีสถาบันอุดมศึกษา หรือวิทยาเขตของสถาบันอุดมศึกษาจังหวัดละ 400 ตัวอย่าง รวมกลุ่มตัวอย่างประมาณ 25,000 คน ทำการสำรวจในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม 2549

  7. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและการปรับตัวการจัดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและการปรับตัวการจัด • การศึกษา • ลักษณะและพฤติกรรมของเด็กที่เปลี่ยนไป (ครอบครัวเดี่ยวและ • การเติบโตและการเรียนรู้ในโลกไซเบอร์) • การอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาไม่เชื่อมต่อกับภาคการผลิตจริง(และ • ภาคสังคม) • ค่านิยมของการยอมรับกระดาษเหนือ ทักษะ สมรรถนะ • ทิศทางและความต่อเนื่องของนโยบายอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา • อุดมศึกษา : • สภาวะผู้นำ ธรรมาภิบาล การบริหารจัดการ • Differentiation of systems

  8. 2563 2543 65.92% 64.22%

  9. คนในวัยทำงานต้องมีผลิตภาพเศรษฐกิจสูงขึ้น ต้องการหลักยึดเหนี่ยวทางจิต คนสูงอายุจำนวนเพิ่มขึ้น ต้องเห็นว่าตนเองมีคุณค่า มีผลิตภาพทางสังคม (การให้คำปรึกษา เสาหลักทางคุณธรรมของสังคม) ประเทศไทยกำลังเปลี่ยนเป็น สังคม สว.(ผู้สูงวัย) คนไทยทุกวัย ตั้งแต่เด็กเยาวชน คนทำงานผู้สูงอายุ ต้องได้โอกาสพัฒนาให้เต็มศักยภาพ มีชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีและคุณค่า เด็กปัจจุบัน ในอนาคตต้องดูแล คนไม่ทำงานมากขึ้น เมื่อเทียบกับอดีต การ์ตูนของศาสตราจารย์เกื้อ วงศ์บุญสิน

  10. Global players Knowledge workers ในภาคการผลิตและ การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น Real sector drivers Employability : ทักษะสังคม ภาษา ไอที ทักษะการสื่อสาร Learnability คุณค่าพื้นฐาน : คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาการวิชาชีพ วิถีชีวิตพอเพียง

  11. การศึกษาขั้นพื้นฐาน เดินหน้าปฏิรูปการศึกษาต่อ(School Based Management, ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพครู, จัดสรรและระดมทรัพยากร, ปฏิรูปการเรียนรู้) ส่งเสริมความเป็นสถาบันทางวิชาการวิชาชีพ(ลดความเป็นองค์กรการเมือง) สร้างความเข้มแข็งของส่วนท้องถิ่นเพื่อรับภาระด้านการศึกษาตามแนวกระจายอำนาจ การอาชีวศึกษาและการอุดมศึกษา เชื่อมกับภาคการผลิตจริง พัฒนาคนในวัยทำงาน(และสูงอายุ)- Productivity improvement อุดมศึกษา - ส่งเสริม Leadership, Governance, Management (ทำให้สภามหาวิทยาลัยทำงานด้านโยบาย กำกับ ตรวจสอบได้จริง) อุดมศึกษา -ให้มี Differentiation ของระบบ

More Related