190 likes | 375 Views
นโยบายการสื่อสารความเสี่ยง โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา. โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข. อีโบลา ( Ebola ). พบเมื่อปี 1976. สายพันธุ์ที่ระบาด ปัจจุบัน. มี 5 สายพันธ์. สายพันธุ์ Zaire ebolavirus. Zaire ebolavirus (EBOV) - Bundibugyo ebolavirus (BDBV)
E N D
นโยบายการสื่อสารความเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลานโยบายการสื่อสารความเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อีโบลา ( Ebola ) พบเมื่อปี 1976 สายพันธุ์ที่ระบาด ปัจจุบัน มี 5 สายพันธ์ สายพันธุ์ Zaire ebolavirus • Zaire ebolavirus (EBOV) • - Bundibugyo ebolavirus (BDBV) • - Sudan ebolavirus (SUDV) • - Taï Forest ebolavirus (TAFV). • Reston ebolavirus (RESTV) • พบที่ ประเทศจีน และ ฟิลิปปินส์ • แต่ไม่ทำให้เกิดอาการเจ็บป่วย • หรือเสียชีวิต • - Nzara, Sudan • -Yambuku,Democratic Republic of Congo. ใกล้แม่น้ำ Ebola และใช้เรียกเป็นชื่อโรคตั้งแต่นั้นมา
ความเป็นมาโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาความเป็นมาโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ด เริ่มระบาด ในประเทศกินี ไลบีเรีย และเซียร์ราลีโอนตั้งแต่เดือน มีนาคม 2557 ลักษณะของโรค โรคติดเชื้อเฉียบพลันเกิดจากเชื้อไวรัสอีโบลา เป็นโรคที่มีความรุนแรงสูง อัตราตายประมาณร้อยละ 60-90 การติดต่อผ่านทางเลือด และสารคัดหลั่งของคน และสัตว์ป่วย ไม่ติดต่อทางการหายใจ หรือยุงพาหะ โรคนี้ไม่มีวัคซีนป้องกัน และยังไม่มียารักษาโดยเฉพาะ (กำลังอยู่ระหว่างศึกษาวิจัย) แพร่ระบาด ไปยังประเทศใกล้เคียง ได้แก่ ไนจีเรีย ได้มีการประเมินสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และพบว่าการระบาดนี้ เป็นเหตุการณ์การระบาดครั้งใหญ่ที่สุดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และเป็นความเสี่ยงด้านสาธารณสุขต่อทุกประเทศทั่วโลก ผลกระทบในการแพร่ระบาดระหว่างประเทศรุนแรง และมีความจำเป็นยิ่งที่ต้องมีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรค
สถานการต่างประเทศ ข้อมูลองค์การอนามัยโลก ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ – 15 สิงหาคม 2557 กินี 519 ราย (เสียชีวิต 380 ราย) พบผู้ป่วยสะสมรวม 2,127 ราย เสียชีวิต 1,145 ราย ใน 4 ประเทศ ไลบีเรีย 786 ราย (เสียชีวิต 413 ราย) เซียร์ราลีโอน 810 ราย (เสียชีวิต 348 ราย) ไนจีเรีย 12 ราย (เสียชีวิต 4 ราย) ทั้งนี้ในช่วงระหว่างวันที่ 12-13 สิงหาคม 2557 มีการรายงานผู้ป่วยรายใหม่ 152 ราย และเสียชีวิต 76 ราย โดยพบรายงานจากประเทศกินี ไลบีเรีย เซียร์ราลีโอน และไนจีเรีย
การเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคติดเชื่อไวรัสอีโบลา (Ebola Virus Disease) สำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 13 สิงหาคม 2557 ยังไม่พบรายงานผู้ป่วยยืนยัน โรคติดเชื้อฯ ประเทศไทย
องค์การอนามัยโลก ออกแถลงการณ์ผ่านเว็บไซต์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2557 ประกาศให้การระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ในแอฟริกาตะวันตกเป็น ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International Concern; PHEIC) ออกคำแนะนำให้มีการจำกัดการเดินทางในประเทศที่มีการระบาด ประเทศที่มีความเสี่ยงสูงหรือพบผู้ป่วย โดยที่ผู้ป่วยเดินทางไปจากประเทศที่มีการระบาด รวมทั้งประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศที่มีการระบาด ส่วนประเทศอื่นๆ ยังไม่มีการห้ามเดินทางหรือการค้า ยกเว้นการจำกัดการเดินทางที่เกี่ยวข้องกับมาตรการที่ได้แจ้งไว้
Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia by week of reporting, December 2013 - 1 August 2014
Disease update Confirmed,probable,and suspect cases and deaths from Ebola virus disease in Guinea,Liberia,Nigeria,and Sierra Leone,as of 13 August 2014
Risk Perception for Ebola Risk = Hazard X Exposure X Probability Risk = Hazard + Public Outrage ( P. Sandman 1987 ) • Risks feared less: • natural • choice involved • may also provide benefit • under your control • from trusted source • we are less aware of • threatens others • Risks feared more: • new • human-made • imposed upon them • associated with death • from untrustworthy source • directly affect you • affect our children • high uncertainty
7 Evolutionary Stages of Risk Communication ( Baruch Fischhoff 1995 ) • Get the numbers right • Tell them the numbers • Explain what we mean by the numbers • Show them that they’ve accepted similar risks in the past • Show them that it’s good deal for them • Treat them nice • Make them partners
วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา เพื่อสร้างความมั่นใจในมาตรการป้องกันโรคและลดความตื่นตระหนก เพื่อให้ประชาชนทราบช่องทางในการแจ้ง ขอข้อมูล ค้นหาข้อมูลที่ถูกต้อง เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
ขั้นการสื่อสารความเสี่ยงขั้นการสื่อสารความเสี่ยง ระยะไม่มีผู้ป่วยในประเทศไทย • เตรียมพร้อม ให้ความรู้ ความเข้าใจ ลดความตระหนก ระยะมีผู้เข้าข่ายการเฝ้าระวังและมีการติดตามผู้สัมผัส การแยกผู้สัมผัส • - ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ป้องกันและแก้ไขความเข้าใจผิดของสังคม • - สื่อสารแบบเครือข่าย ระยะมีผู้ป่วยยืนยันในประเทศ • - ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ป้องกันและแก้ไขความเข้าใจผิดของสังคม • - สื่อสารแบบเครือข่ายภายใต้ Incident Command System • - สื่อสารเฉพาะพื้นที่ ถึงระดับชุมชน ( Event-Based Risk Communication ) ระยะมีการระบาดในประเทศ • - ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ป้องกันและแก้ไขความเข้าใจผิดของสังคม • - สื่อสารแบบเครือข่ายภายใต้ Incident Command System • - สื่อสารเฉพาะพื้นที่ ถึงระดับชุมชน ( Event-Based Risk Communication )
ประชาชนทั่วไป บุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขทั่วประเทศ (อสม.) สื่อมวลชนและเครือข่ายประชาสัมพันธ์ ระยะเวลาในการดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเร่งด่วน • 15 ส.ค.57 – 15 ก.ย.2557 ระยะต่อเนื่อง • 16 ก.ย. 57 – 31 ธ.ค. 2557
ประชาชนทั่วไป ประเด็นสื่อสาร- ให้ตระหนัก แต่ไม่ตระหนก • ข้อมูลโรค/สถานการณ์/การป้องกัน • การปฏิบัติเมื่อต้องเดินทาง • มาตรการควบคุมป้องกันโรค • ความร่วมมือในการเฝ้าระวังโรค • ประเด็นสื่อสารสำคัญ “ อีโบลา ไม่ติดทางการหายใจ กินอาหาร น้ำดื่มน้ำใช้ ติดจากการสัมผัส สารคัดหลั่ง เช่น เลือด น้ำเหลือง น้ำมูก น้ำลาย ของผู้ป่วยอีโบลาที่มีอาการเท่านั้น และอีโบลายังมาไม่ถึงประเทศไทยกระทรวงสาธารณสุขดำเนินมาตรการป้องกันอย่างเข้มแข็ง”
บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ประเด็นสื่อสาร-ให้เข้าใจ ป้องกัน ควบคุมได้ • ข้อมูลโรค / สถานการณ์ / การป้องกัน • แนวทางการดูแลรักษาและส่งต่อ • มาตรการควบคุมป้องกันโรค • การป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล • การป้องกันการติดเชื้อระหว่างปฏิบัติหน้าที่ภาคสนาม • ประเด็นการสื่อสาร “ การปฏิบัติตามมาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อจากการปฏิบัติงานอย่างเคร่งครัด ป้องกันโรคได้”
อาสาสมัครสาธารณสุข ประเด็นการสื่อสาร-ให้เข้าใจ เป็นหูเป็นตา และสื่อสารกับประชาชน • ข้อมูลโรค / สถานการณ์ / การป้องกัน • แนวทางการดูแลรักษาเบื้องต้นและส่งต่อระดับชุมชน • มาตรการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค • การป้องกันการติดเชื้อระหว่างปฏิบัติหน้าที่ภาคสนาม • การให้ความรู้ประชาชนในการป้องกันตัวเองและแจ้งเหตุ • ประเด็นสื่อสารสำคัญ “ อีโบลา ไม่ติดทางการหายใจ กินอาหาร น้ำดื่มน้ำใช้ ติดจากการสัมผัส สารคัดหลั่ง เช่น เลือด น้ำเหลือง น้ำมูก น้ำลาย ของผู้ป่วยอีโบลาที่มีอาการเท่านั้น และอีโบลายังมาไม่ถึงประเทศไทยกระทรวงสาธารณสุขดำเนินมาตรการป้องกันอย่างเข้มแข็ง ”
สื่อมวลชนและเครือข่ายประชาสัมพันธ์สื่อมวลชนและเครือข่ายประชาสัมพันธ์ • ข้อมูลโรค / สถานการณ์ / การป้องกัน • มาตรการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค • การให้ความรู้ประชาชนในการป้องกันตัวเองและแจ้งเหตุ
ช่องทางและกระบวนการสื่อสารช่องทางและกระบวนการสื่อสาร เฝ้าระวังสื่อต่างๆ สื่อสารช่องต่างๆ สื่อสารผ่านช่องทางต่างๆ รวมถึงเครือข่าย • - เฝ้าระวังสื่อหลักต่างๆ • เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ • - เฝ้าระวัง Social Media เช่น Facebook Twitter • . ตอบโต้กรณีความเข้าใจผิด ที่กระทบต่อกระบวน การทำงาน ความเชื่อมั่น และภาพลักษณ์ ตอบโต้กรณี..