40 likes | 206 Views
อุตสาหกรรมยาง อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้. เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น.
E N D
อุตสาหกรรมยาง อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุงจากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ ศูนย์วิทยุชุมชน อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) • ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ การบริหารจัดการกำลังคน • เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดนครศรีธรรมราช สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 838 แห่ง (สปช. 762 แห่ง และ สศ. 76 แห่ง) สังกัด เอกชน 201 แห่ง สังกัด กศน. 24 แห่ง สังกัด สกอ. 8 แห่ง สังกัด สอศ. 11 แห่ง 1.วท.นครศรีธรรมราช 2. วท.สิชล 3. วท. ทุ่งสง 4.วทอ.นครศรีธรรมราช 5. วอศ.นครศรีธรรมราช 6. วศ.นครศรีธรรมราช 7.วษท.นครศรีธรรมราช 8. วช.นครศรีธรรมราช 9. วก.นครศรีธรรมราช 10.วก.หัวไทร 11.วก.พรหมคีรี • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันออก มีเขตติดต่อกับทะเลอ่าวไทย • ทิศใต้ มีเขตติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจหลักของ • ภาคใต้และประเทศไทย คือจังหวัดสงขลา • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 65,759 บาท ต่อปี (อันดับ 10 • ของภาค อันดับ33 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 26.12% รองลงมาการทำเหมืองแร่ • และเหมืองหิน15.54% การผลิตอุตสาหกรรม13.04% • และสาขาการขายส่งและการขายปลีก 12.87% • พืชเศรษฐกิจของจังหวัด • ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง กาแฟ • ประชากร • จำนวนประชากร 1,504,420 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 124,109 คน หรือ 12.73% • จำนวนผู้ว่างงาน 19,070คน เป็นชาย 10,895 คน เป็นหญิง 8,175คน อัตราการว่างงาน 1.2% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด 449,143 คน หรือ 49.93% รองลงมา พนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 147,573 คน 16.4% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ช่างซ่อมบำรุงอุตสาหกรรม 2) ธุรกิจบริการ 3) เกษตรอินทรีย์ • 4) หัตถกรรมพื้นบ้าน 5) แปรรูปสัตว์น้ำ 6) ผลิตภัณฑ์อาหาร 7) ผ้าทอมือ • 8) ช่างบริการคอมพิวเตอร์ 9) งานก่อสร้าง 10) เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ • (ที่มา อศจ.นครศรีธรรมราช) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 337,886 คน หรือ 37.56%รองลงมาเป็นลูกจ้างเอกชน 281,173 คนหรือ 31.25% และและช่วยธุรกิจครัวเรือน 195,068 คน 21.68 % • ลำดับแรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 14,772 คน หรือ 1.64% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยม • ศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 666,117 คน หรือ 74.04% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 32,140 คน หรือ 3.57% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมยาง มีสถานประกอบการ 122 แห่ง มีการจ้างงาน 4,912 คน รองลงมาอุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ มีสถานประกอบการ 121 แห่ง มีการจ้างงาน 4,734 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดตรัง สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 353 แห่ง (สปช. 324 แห่ง และ สศ. 29 แห่ง) สังกัด เอกชน 56 แห่ง สังกัด กศน. 10 แห่ง สังกัด สกอ. 1 แห่ง สังกัด สอศ. 7 แห่ง 1.วท.ตรัง 2. วษท.ตรัง 3. วช.ตรัง 4. วก.ตรัง 5. วก.ห้วยยอด 6. วก.ปะเหลียน 7. วก.กันตัง • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศใต้และทิศตะวันตก มีเขตติดต่อทะเลอันดามัน • มหาสมุทรอินเดีย • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 72,666 บาท ต่อปี(อันดับ 7 • ของภาค อันดับ 27 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 45.11 % รองลงมาสาขาการผลิต • อุตสาหกรรม 14.67 % และสาขาการขายส่ง • การขายปลีก 12.84 % • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • หมูย่าง และพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ ยางพารา • ปาล์มน้ำมัน ข้าวนาปี • ประชากร • จำนวนประชากร 602,045 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 51,413 คน หรือ 13.09% • จำนวนผู้ว่างงาน 5,666 คน เป็นชาย 2,545 คน เป็นหญิง 3,121 คน อัตราการว่างงาน 0.9 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด 185,455 คน หรือ 48.82% รองลงมาพนักงานบริการ พนักงานร้านค้าและตลาด 54,765 คน หรือ 14.42% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ทำขนมเพื่อจำหน่าย 2) ศิลปะประดิษฐ์ตำบลกันตังใต้ 3) กลุ่มเครื่องแกงตำมือ • 4) ทำปลาเค็ม 5) การทำเครื่องมือประมงพื้นบ้าน 6) การปลูกผักเพื่อการค้า • 7) การนวดเพื่อสุขภาพ 8) ช่างสีและตัวถังรถยนต์ 9) ทำกะปิเพื่อจำหน่าย • 10) ทำดอกไม้ประดิษฐ์ (ที่มา อศจ.ตรัง) • ประชากรอายุ 15ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 156,071 คน หรือ 41.09 %ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 113,624 คนหรือ 29.91% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 64,467 คน หรือ 16.97% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 9,436 คน หรือ 2.48% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 272,246 คน หรือ 71.68% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 11,205 คน หรือ 2.95% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 83 แห่ง มีการจ้างงาน 4,349 คน รองลงมาอุตสาหกรรมยาง มีสถานประกอบการ 83 แห่ง มีการจ้างงาน 3,706 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดพัทลุง สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 281 แห่ง (สปช. 251 แห่ง และ สศ. 30 แห่ง) สังกัด เอกชน 51 แห่ง สังกัด กศน. 11 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 6 แห่ง 1.วท.พัทลุง 2. วท.พัทลุงแห่งที่ 2 3. วษท.พัทลุง 4. วช.พัทลุง 5. วก.บางแก้ว 6. วก.ควนขนุน • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศใต้ มีเขตติดต่อกับ • จังหวัดเศรษฐกิจของภาคและประเทศไทย คือ • จังหวัดสงขลา • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 47,898 บาท ต่อปี (อันดับ 13 • ของภาค อันดับ 48 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 31.44 % รองลงมาสาขาการขายส่ง • การขายปลีก 21.43 % • พืชเศรษฐกิจของจังหวัด • ยางพารา ข้าวนาปี ไม้ผล • ประชากร • จำนวนประชากร 500,501 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 38,766 คน หรือ 11.84% • จำนวนผู้ว่างงาน 1,992คน เป็นชาย 1,131คน เป็นหญิง 861 คน อัตราการว่างงาน 0.4% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด 157,701 คน หรือ 57.81% รองลงมาพนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 45,576 คน หรือ 14.97% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ค้าขาย 2) การทำปลาร้า 3) ทอเสื่อกระจูด • 4) ผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว 5) โรงงานยาง 6) โรงเลื่อย • 7) ตัดเย็บเสื้อผ้า 8) รับจ้างทั่วไป 9) ธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ • 10) ธุรกิจบริการ (รถรับจ้าง ,ที่พัก) (ที่มา อศจ.พัทลุง) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 114,361 คน หรือ 37.57% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 80,461 คน หรือ 26.43% และเป็นลูกจ้างเอกชน 72,108 คน หรือ 23.69% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 5,440 คน หรือ 1.79 % โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น - ต่ำกว่าประถมศึกษา 211,387 คน หรือ 69.44% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 10,567 คน หรือ 3.47% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมยางและพลาสติก มีสถานประกอบการ 65แห่ง มีการจ้างงาน 895 คน รองลงมาอุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ มีสถานประกอบการ 45 แห่ง มีการจ้างงาน 877คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา