230 likes | 414 Views
สภาวการณ์ของการเปลี่ยนแปลง และการออกนอกระบบ. โดย นายโอภาส เขียววิชัย ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา วันที่ 21 มีนาคม 2550 ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. การเปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ. แผนพัฒนาอุดมศึกษา ระยะยาว (พ.ศ. 2533-2547)
E N D
สภาวการณ์ของการเปลี่ยนแปลงและการออกนอกระบบสภาวการณ์ของการเปลี่ยนแปลงและการออกนอกระบบ โดย นายโอภาส เขียววิชัย ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา วันที่ 21 มีนาคม 2550 ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
การเปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐการเปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ • แผนพัฒนาอุดมศึกษา ระยะยาว (พ.ศ. 2533-2547) • จัดทำแผนปรับสถานภาพเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติ ปี 2541-2545 • ปรับระบบการบรรจุบุคลากรเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2542
การเปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ(ต่อ)การเปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ(ต่อ) • มหาวิทยาลัยรับฟังความคิดเห็น สร้างความ เข้าใจกับบุคลากรและนักศึกษา และการเตรียม ความพร้อม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 • เสนอกฎหมายเข้าสู่การพิจารณา สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 รวม 11 ฉบับ
สภาพปัจจุบันมหาวิทยาลัยที่เป็นส่วนราชการสภาพปัจจุบันมหาวิทยาลัยที่เป็นส่วนราชการ • มีพนักงานมหาวิทยาลัยมากกว่าข้าราชการ • มีระบบบริหารงานบุคคลมากกว่า 2 ระบบ • มีระบบบริหารการเงินและพัสดุมากกว่า 1 ระบบ • การบริหารงานวิชาการ มิได้สิ้นสุดที่สภามหาวิทยาลัย ทุกเรื่อง • ปัญหาการแต่งตั้งผู้บริหารมหาวิทยาลัย ระดับคณบดี หรือเทียบเท่า และหัวหน้าภาควิชา
การเสนอร่าง พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ • เป็นอำนาจของสภามหาวิทยาลัยที่จะตัดสินใจ รัฐบาลมิได้เร่งรัดหรือมีกรอบระยะเวลา • ควรรับฟังความคิดเห็น และความเห็นพ้องจากบุคลากรทุกกลุ่ม จนได้ข้อยุติ • มหาวิทยาลัยใดเสนอร่าง พ.ร.บ. มหาวิทยาลัยในกำกับ มาแล้ว ให้รายงานผลการรับฟังความคิดเห็นและ ความเห็นพ้อง
การเสนอร่าง พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ (ต่อ) • ร่าง พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ที่อยู่ในกรรมาธิการ ให้มหาวิทยาลัยรับฟังความคิดเห็นเพิ่มเติม • การปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เป็นความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยที่จะชี้แจงทำความเข้าใจ
ร่าง พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของสภานิติบัญญัติ • มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยนเรศวร รอเข้าวาระประชุมเสนอตั้งกรรมาธิการ • มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อยู่ที่กรรมาธิการ
การพิจารณาของกรรมาธิการการพิจารณาของกรรมาธิการ • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ตั้งอนุกรรมาธิการไปดำเนินการรับฟัง ความคิดเห็น
การพิจารณาของกรรมาธิการ (ต่อ) • มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ - ให้มหาวิทยาลัยไปรับฟังความคิดเห็น - นำสาระสำคัญร่าง พ.ร.บ.ส่งเสริมมหาวิทยาลัยในกำกับ ข้อกังวลของสังคม และบุคลากรมาบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ - ให้มหาวิทยาลัยเตรียมความพร้อมในการออกข้อบังคับการเป็น มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
การเงินของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐการเงินของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ • แหล่งที่มาของรายได้ของมหาวิทยาลัย - งบประมาณจากรัฐเป็นเงินอุดหนุนในลักษณะ - เงินอุดหนุนทั่วไปค่าใช้จ่ายประจำปี - เงินอุดหนุนกองทุนคงยอดเงินต้น - เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายลงทุน - เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้
การเงินของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ (ต่อ) • แหล่งที่มาของรายได้ของมหาวิทยาลัย (ต่อ) - รายได้หรือผลประโยชน์ที่ได้จากการร่วมลงทุนหรือ การลงทุนและจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย - ค่าธรรมเนียม ค่าบำรุง ค่าตอบแทน เบี้ยปรับ และ ค่าบริการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย - รายได้หรือผลประโยชน์จากการใช้ที่ราชพัสดุหรือจัดหา ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ - รายได้หรือผลประโยชน์อย่างอื่น
การเงินของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ (ต่อ) • หลักประกันการจัดสรรเงินงบประมาณจากรัฐ - รัฐพึงจัดสรรเป็นจำนวนเพียงพอสำหรับค่าใช้จ่ายในการ ดำเนินการการพัฒนามหาวิทยาลัยเพื่อประกันคุณภาพ การศึกษา - กรณีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการไม่เพียงพอ มหาวิทยาลัย ไม่สามารถหาจากแหล่งอื่นได้ รัฐพึงจัดสรรเงินอุดหนุน ทั่วไปเพิ่มเติม ตามความจำเป็นของมหาวิทยาลัย
การเงินของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ (ต่อ) • หลักประกันของผู้ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ - ผู้ที่จะเข้าศึกษาหรือผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ จะได้รับการศึกษาต่อ จนสำเร็จการศึกษา - สภามหาวิทยาลัยเป็นผู้กำหนดหลักเกณฑ์ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์
รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปให้แก่ ม.ในกำกับ 4 แห่ง (ย้อนหลัง 3 ปี)
ข้าราชการที่จะเปลี่ยนเป็นพนักงานคงสิทธิประโยชน์ดังนี้ข้าราชการที่จะเปลี่ยนเป็นพนักงานคงสิทธิประโยชน์ดังนี้ • ผู้ที่อยู่ในกองทุน กบข. - เลือกที่จะอยู่ต่อไปหรือไม่ประสงค์จะอยู่ต่อไปก็ได้ - กรณีอยู่ในกองทุนต่อกฎกระทรวง ให้ขึ้นเงินเดือนเฉลี่ยปีละ หนึ่งขั้นครึ่ง เพื่อนำเงินเข้ากองทุน • ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตามบัญชี 7 (เดิม)
บุคลากรของมหาวิทยาลัยบุคลากรของมหาวิทยาลัย - ข้าราชการ ลูกจ้างส่วนราชการ พนักงานมหาวิทยาลัยโอนมาเป็น ข้าราชการ ลูกจ้างส่วนราชการ และพนักงานมหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติใหม่ - คงหมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำอยู่ที่มหาวิทยาลัย - ยังคงความเป็นข้าราชการ ลูกจ้างส่วนราชการ จนกว่า จะแสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (แสดงเจตนาแล้วถอนมิได้)
ข้าราชการหรือลูกจ้างส่วนราชการเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยข้าราชการหรือลูกจ้างส่วนราชการเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย - เป็นไปโดยความสมัครใจไม่บังคับ - แสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพได้ตามบทเฉพาะกาล
สิทธิประโยชน์ข้าราชการที่เปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงานสิทธิประโยชน์ข้าราชการที่เปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงาน มหาวิทยาลัย * ข้าราชการที่เป็นสมาชิกกองทุน กบข. - สมัครใจที่จะเป็นสมาชิกต่อไปได้ - สมาชิกภาพต่อกับสมาชิกภาพเดิม - เงินสะสมเข้ากองทุนตามอัตราที่กำหนดใน กฎกระทรวง - สิทธิได้รับบำเหน็จหรือบำนาญต่อเมื่อออกจากงาน หรือเกษียณอายุ (60 ปี) - สิทธิได้รับบำเหน็จดำรงชีพ บำเหน็จตกทอด เงินสะสมสมทบ เงินประเดิม เงินชดเชย และผลประโยชน์ตอบแทน
สิทธิประโยชน์ข้าราชการที่เปลี่ยนสถานภาพเป็นสิทธิประโยชน์ข้าราชการที่เปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย * ข้าราชการที่เป็นสมาชิกกองทุน กบข. (ต่อ) - กรณีไม่ประสงค์จะเป็นสมาชิกต่อไป - ออกจากราชการเพราะเหตุยุบเลิกตำแหน่ง - อายุราชการไม่ครบ 10 ปี ได้รับบำเหน็จ - อายุราชการครบ 10 ปีขึ้นไป ได้รับบำนาญ
สิทธิประโยชน์ข้าราชการที่เปลี่ยนสถานภาพเป็นสิทธิประโยชน์ข้าราชการที่เปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย * ข้าราชการที่มิได้เป็นสมาชิกกองทุน กบข. - ออกจากราชการเพราะเหตุยุบเลิกตำแหน่ง - อายุราชการไม่ครบ 10 ปี ได้รับบำเหน็จ - อายุราชการครบ 10 ปีขึ้นไป ได้รับบำนาญ * พนักงานมหาวิทยาลัยที่รับบำนาญจากราชการ จะได้รับเงินเดือน และสวัสดิการดังนี้ - เงินบำนาญ + เงินเดือนพนักงานมหาวิทยาลัย - สวัสดิการตามราชการ + สวัสดิการพนักงาน มหาวิทยาลัย (มีสิทธิเลือกรับได้)
สิทธิประโยชน์ข้าราชการที่เปลี่ยนสถานภาพเป็นสิทธิประโยชน์ข้าราชการที่เปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย * การสนับสนุนจากรัฐในการปรับเปลี่ยนสถานภาพข้าราชการ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย - จัดสรรเงินเพิ่มร้อยละ 60 - ร้อยละ 40 เป็นเงินเพิ่มประสิทธิภาพ - ร้อยละ 20 เป็นเงินสวัสดิการ