1 / 20

ยู่อี้ เกตเพชร สำนักบริหารจัดการด้านการประมง กรมประมง เกษตรกลาง เขตจตุจักร กทม.

ยู่อี้ เกตเพชร สำนักบริหารจัดการด้านการประมง กรมประมง เกษตรกลาง เขตจตุจักร กทม. แนวทางและวิธีปฏิบัติ ในการออกใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติ สงวน และคุ้มครองสัตว์ ป่า พ.ศ. 253๕. หนังสืออนุญาตตามพ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535.

Download Presentation

ยู่อี้ เกตเพชร สำนักบริหารจัดการด้านการประมง กรมประมง เกษตรกลาง เขตจตุจักร กทม.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยู่อี้ เกตเพชร สำนักบริหารจัดการด้านการประมง กรมประมง เกษตรกลาง เขตจตุจักร กทม. แนวทางและวิธีปฏิบัติ ในการออกใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติ สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 253๕

  2. หนังสืออนุญาตตามพ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 ใบอนุญาตให้เพาะพันธุ์สัตว์ป่า (สป.9) ใบอนุญาตให้ครอบครองสัตว์ป่าชั่วคราว (สป.2) ใบอนุญาตให้ครอบครองซากสัตว์ป่าสงวน หรือซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง (สป.3) ใบอนุญาตให้ค้าสัตว์ป่า (สป.11) ใบอนุญาตให้นำเข้า ส่งออก นำผ่านตามมาตรา 23 หรือ 25 แห่ง พ.ร.บ.สงวนฯ พ.ศ. 2535(สป.5) ใบอนุญาตให้นำสัตว์ป่าเคลื่อนที่เพื่อการค้า (สป.13) ใบอนุญาตให้ครอบครองซึ่งสัตว์ป่าที่ได้มาจากการเพาะพันธุ์ (สป.15) ใบอนุญาตให้นำเข้า ส่งออก นำผ่านตามมาตรา 23 หรือ 25 แห่ง พ.ร.บ.สงวนฯ พ.ศ. 2535(สป.6)

  3. ประเภทของใบอนุญาตชนิดต่างๆประเภทของใบอนุญาตชนิดต่างๆ • ใบอนุญาตให้ครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครองชั่วคราว (สป.2) • ใบรับรองการครอบครองซากของสัตว์ป่าสงวนหรือซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง(สป.3) • ใบอนุญาตให้ครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครองที่ได้มาจากการเพาะพันธุ์ (รวมซากด้วย)(สป.15) • ใบอนุญาตให้ค้าสัตว์ป่าคุ้มครอง ซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง(สป.11) • ใบอนุญาตให้เพาะพันธุ์สัตว์ป่าคุ้มครอง(สป.9) • ใบอนุญาตให้นำสัตว์ป่าคุ้มครองเคลื่อนที่เพื่อการค้า(สป.13) • ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสวนสัตว์สาธารณะ(สป.21)

  4. ใบอนุญาตให้ครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครองชั่วคราวใบอนุญาตให้ครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครองชั่วคราว • มีอายุตลอดระยะเวลาที่สัตว์ป่าคุ้มครองนั้นมีชีวิตอยู่ • พนักงานเจ้าหน้าที่จะออกใบอนุญาตชนิดนี้เพิ่มเติมอีกมิได้ เว้นแต่จะมีการกำหนดชนิดของสัตว์ป่าคุ้มครองเพิ่มเติมขึ้น • ถ้ามีการนำสัตว์ป่าคุ้มครองไปเก็บไว้ ณ สถานที่อื่นนอกจากที่ระบุไว้ในใบอนุญาต ต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดีฯ ก่อน • ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงจำนวน (เกิด/ตาย) ต้องแจ้งภายใน 30 วัน • สัตว์ป่าคุ้มครองตามใบอนุญาตชนิดนี้จะจำหน่ายมิได้ • ไม่มีค่าธรรมเนียมเรียกเก็บ

  5. ใบรับรองการครอบครองซากของสัตว์ป่าสงวนหรือซากของสัตว์ป่าคุ้มครองใบรับรองการครอบครองซากของสัตว์ป่าสงวนหรือซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง • มีอายุตลอดที่ครอบครองซากของสัตว์ป่านั้น • จะนำหน่ายมิได้ • การย้ายสถานที่เก็บต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดีฯ • เจ้าหน้าที่จะออกใบรับรองชนิดนี้เพิ่มเติมมิได้ เว้นแต่จะมีการประกาศชนิดของสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครองเพิ่มขึ้น • ไม่มีค่าธรรมเนียมเรียกเก็บ

  6. ใบอนุญาตให้ครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครองที่ได้มาจากการเพาะพันธุ์ (รวมซากด้วย) • จะออกใบอนุญาตให้ได้แต่สัตว์ป่าคุ้มครองที่กฎหมายกำหนดให้เพาะพันธุ์เท่านั้น • มีอายุ 3 ปี ค่าธรรมเนียมฉบับละ 50 บาท • เมื่อมีสัตว์ป่าคุ้มครอง หรือซากของสัตว์ป่าคุ้มครองเพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะโดยสืบพันธุ์หรือซื้อมาจากที่อื่น ให้จดแจ้งเพิ่มในรายการบัญชีแนบท้ายใบอนุญาตโดยไม่ต้องออกใบอนุญาตฉบับใหม่ • หลักฐานที่ใช้ในการออกใบอนุญาตกรณีซื้อมาจากผู้อื่นคือหนังสือกำกับการจำหน่าย • กรณีผู้รับใบอนุญาตจะจำหน่ายสัตว์ป่าคุ้มครอง ต้องขอรับใบอนุญาตให้ค้าสัตว์ป่าคุ้มครอง • จังหวัดได้รับมอบอำนาจให้ออกใบอนุญาตชนิดนี้

  7. ปัญหาที่พบ • 1. ผู้ขออนุญาตมักใช้หลักฐานใบเคลื่อนที่ซึ่งหมดอายุมาแสดงเท่านั้น • 2. เจ้าหน้าที่ไม่ระบุแหล่งที่ได้มา ขนาดและอายุของสัตว์ป่าในบัญชีแนบท้าย เมื่อเปลี่ยนเจ้าของ ทำให้สูญเสียโอกาสทางการค้า

  8. ใบอนุญาตให้ค้าสัตว์ป่าคุ้มครอง ซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง • จะออกใบอนุญาตให้ได้แต่สัตว์ป่าคุ้มครองที่กฎหมายกำหนดให้เพาะพันธุ์เท่านั้น • ใบอนุญาตให้ค้าสัตว์ป่าคุ้มครองที่มีชีวิต และซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง/ผลิตภัณฑ์ ต้องแยกคนละฉบับ • ค่าธรรมเนียมฉบับละ 500 บาท อายุใบอนุญาต 1 ปี • ผู้รับใบอนุญาตให้ค้าได้รับการยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาตให้ครอบครองอีก • กรณีผู้รับใบอนุญาตให้ค้า จำหน่ายสัตว์ป่าคุ้มครอง/ซาก ไป โดยผู้รับใบอนุญาตให้ค้าเป็นผู้ขนส่งเอง ต้องขอรับใบอนุญาตให้นำสัตว์ป่าคุ้มครอง หรือซากของสัตว์ป่าคุ้มครองเคลื่อนที่เพื่อการค้า • ผู้รับใบอนุญาตให้ค้าต้องออกหนังสือกำกับการจำหน่ายสัตว์ป่าคุ้มครอง ซาก ผลิตภัณฑ์ให้กับผู้ซื้อทุกครั้ง • ผู้รับใบอนุญาตต้องจัดทำบัญชีแสดงการรับ-จำหน่ายสัตว์ป่าไว้ให้ตรวจสอบ • จังหวัดได้รับมอบอำนาจให้ออกใบอนุญาตชนิดนี้

  9. ปัญหาที่พบ • 1. ผู้ค้าไม่ทำบัญชีรับ-จำหน่าย และบัญชีสถิติ • 2. ผู้ค้าไม่ออกหนังสือกำกับการจำหน่ายให้ผู้ซื้อ • 3. บัญชีแนบท้ายใบค้าไม่ถูกลดยอด

  10. แนวทางแก้ไข • 1. กำหนดให้ส่งบัญชีรับจำหน่าย และบัญชีแสดงสถิติประกอบคำขอต่ออายุใบอนุญาต • 2. การออกใบอนุญาตครอบครองต้องแนบหนังสือกำกับการจำหน่าย • 3. ตัดยอดบัญชีแนบท้ายใบค้าตามยอดบัญชีรับ-จำหน่าย

  11. ใบอนุญาตให้เพาะพันธุ์สัตว์ป่าคุ้มครองใบอนุญาตให้เพาะพันธุ์สัตว์ป่าคุ้มครอง • การเพาะพันธุ์ตามกฎหมาย กับการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติแตกต่างกัน • จะเพาะพันธุ์ได้แต่เฉพาะสัตว์ป่าชนิดที่กำหนดให้เพาะพันธุ์เท่านั้น • อายุใบอนุญาต 5 ปี ค่าธรรมเนียม 1,000 บาท • ผู้รับใบอนุญาตให้เพาะพันธุ์ได้รับยกเว้นไปไม่ต้องขอรับใบอนุญาตให้ครอบครอง • จังหวัดได้รับมอบอำนาจให้ออกใบอนุญาตชนิดนี้

  12. ปัญหาที่พบ • 1. ตามกฎกระทรวง ปี 2551ได้กำหนดหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขให้ใบอนุญาตเพาะพันธุ์ มีอายุ 5 ปี โดยใบอนุญาตเดิมกำหนดให้ใช้ได้ต่อไปถึง 28 มกราคม 2554 ดังนั้น ผู้รับอนุญาตเพาะพันธุ์ไม่ทราบว่าใบอนุญาตตนหมดอายุ • 2. มีการแจ้งเพิ่มเติมลูกที่ได้จากการเพาะพันธุ์ เมื่อมีการค้าจำนวนลูกพันธุ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ถูกหักล้างจากบัญชีแนบท้ายใบอนุญาตเพาะพันธุ์

  13. แนวทางแก้ไข • 1. แจ้งผู้รับอนุญาตให้ทราบ • 2. หักล้างจำนวนลูกที่ได้จากการเพาะพันธุ์เพิ่มเติม โดยย้ายไปแสดงในใบอนุญาตค้า หรือครอบครอง ตามความประสงค์ของผู้รับอนุญาต

  14. ใบอนุญาตให้นำสัตว์ป่าคุ้มครองเคลื่อนที่เพื่อการค้าใบอนุญาตให้นำสัตว์ป่าคุ้มครองเคลื่อนที่เพื่อการค้า • มีอายุ 5 วัน ค่าธรรมเนียมฉบับละ 100 บาท • ออกเฉพาะกรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ค้าสัตว์ป่าคุ้มครองเป็นผู้นำสัตว์ป่าของตนเคลื่อนที่เอง • เฉพาะกรณีที่เคลื่อนย้ายเพื่อการค้าเท่านั้น • “ค้า” หมายถึง ซื้อ ขาย แลกเปลี่ยน จำหน่าย จ่าย แจก หรือโอนกรรมสิทธิ์ ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในทางการค้า และหมายความรวมถึงมีหรือแสดงไว้เพื่อขายด้วย

  15. ปัญหาที่พบ • 1. จำนวนไม่ตรงกับที่เคลื่อนที่ไป • 2. ไม่อยู่ในวิสัยที่จะเข้าตรวจสอบขณะดำเนินการเคลื่อนย้าย (เคลื่อนที่ตอนกลางคืน) • 3. สินค้าไปไม่ถึงปลายทางที่กำหนดในใบอนุญาต

  16. แนวทางแก้ไข • 1. เจ้าหน้าที่ต้องติดตามผลการเคลื่อนที่ และหักล้างจำนวนที่มีในครอบครองให้ถูกต้อง • 2. สำเนาเรื่องแจ้งจังหวัดปลายทาง เพื่อดำเนินการติดตามตรวจสอบจำนวน และจดแจ้งให้ถูกต้อง

  17. การออกหนังสือกำกับการจำหน่ายการออกหนังสือกำกับการจำหน่าย • เป็นหน้าที่ของผู้รับใบอนุญาตให้ค้าสัตว์ป่าคุ้มครองต้องออกหนังสือกำกับการจำหน่ายสัตว์ป่าให้แก่ผู้ซื้อสัตว์ป่าคุ้มครอง ซากของสัตว์ป่าคุ้มครองและผลิตภัณฑ์ • เป็นหลักฐานสำคัญในการยื่นขอใบอนุญาตต่างๆ ของผู้ซื้อ http://animal-world.com/encyclo/reef/clams/tridacna.htm completeaquarium.blogspot.com

  18. การนำเข้า-ส่งออก สัตว์ป่าคุ้มครอง • เป็นอำนาจของอธิบดีกรมประมง ที่มอบอำนาจให้ ผอ. ส่วนอนุญาตและกำหนดมาตรการด้านการประมง • ยื่นคำร้องได้ที่ ส่วนอนุญาตและกำหนดมาตรการด้านการประมง โทร. 0 2561 4689

  19. บทกำหนดโทษ • ผู้ฝ่าฝืนด้วยการล่า ครอบครอง ค้า นำเข้า ส่งออก มีโทษ จำคุก ไม่เกิน ๔ ปี ปรับไม่เกินสี่หมื่น หรือทั้งจำทั้งปรับ

  20. Thank you

More Related