540 likes | 611 Views
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 “ ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ”. 1. โดย นางสาวชนานัญ บัวเขียว ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน นโยบายและแผนอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน
E N D
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ” 1 โดย นางสาวชนานัญ บัวเขียว ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน นโยบายและแผนอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ณโรงแรม แกรนด์ เมอร์เคียว แบงค์คอก วันพุธที่ 15 กรกฎาคม 2552 : (09.00-10.30)
หัวข้อการบรรยาย • หลักการและเหตุผล • มติคณะรัฐมนตรี “ลดการใช้พลังงาน” • ผลสรุปความสำเร็จของการดำเนินการ ปี 2551 • ผลสรุปการเปรียบเทียบเกณฑ์ ระหว่างการลดการใช้พลังงานให้ได้ร้อยละ 10 กับ EUI • กรอบการประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ปีงบประมาณ 2552 • วิธีรวบรวมผลปฏิบัติราชการเสนอสำนักงาน ก.พ.ร.
หลักการและเหตุผล “ประหยัดพลังงาน” ? 90%
ทำไมต้อง “หน่วยงานราชการ” ? เกษตร 6% ขนส่ง 37% • เชื้อเพลิงทางเลือก • ลงทุนระบบขนส่ง ธุรกิจและครัวเรือน 21% อุตสาหกรรม 36% หน่วยงานราชการ 5% • พรบ.อนุรักษ์ฯ • กฎกระทรวงควบคุม “ของหลวง” “ผู้นำ” • ไม่ตระหนักในความสำคัญ ! • คิดว่าไม่ใช่ความรับผิดชอบ ของตน! • คิดว่าตนไม่ใช่เป็นเจ้าของหรือหุ้นส่วน ! • คิดว่าเป็นเรื่อง ยุ่งยาก ไม่มีเวลา ! • คิดว่าตนไม่ได้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย !
มติคณะรัฐมนตรีหน่วยงานราชและรัฐ ร่วมใจประหยัดพลังงาน บาท/ลิตร 1 2 3 ธ.ค. 51 21 ก.ค. 51 43 ธ.ค. 50 32 ก.ค. 50 30 ธ.ค. 49 26 ก.ค. 49 30 ก.ย. 48 27 ส.ค. 47 21 ม.ค. 47 16 ให้หน่วยงานราชและรัฐ เป็นผู้นำใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ให้ส่วนราชการลดใช้พลังงานลงให้ได้อย่างน้อย 5% + ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามจะมีโทษทางวินัย “ราคาน้ำมันสูง” “เวิลด์เทรด เซ็นเตอร์” “สงครามอเมริกากับอิรัก” 2548 2547 2544 2546 2545 2543 5 4 ให้ทุกหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจลดใช้พลังงานลงร้อยละ 10-15 ตัดงบประมาณด้านสาธารณูปโภค ปี 2546 ลง 5% +นำเงินที่เหลือจ่ายไปเป็นรางวัลได้ ให้หน่วยงานราชและรัฐเป็นผู้นำประหยัดพลังงาน +ปรับลดงบปี2547 ไตรมาส 4 ลง 10% ปี’ 2547หน่วยงานระดับกรม จาก 314 หน่วยงาน รายงานเพียง 170 หน่วยงาน
มติคณะรัฐมนตรี 17 พฤษภาคม 2548 • ให้หน่วยงานราชการลดการใช้พลังงานลง ร้อยละ 10 - 15 เทียบกับปี 2546 • ให้ ก.พ.ร. กำหนดเป็นตัวชี้วัด (KPI) ผลปฏิบัติราชการของทุกส่วนราชการ เริ่มตั้งแต่ปี 2549
2 1 3 4 5 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 1.0 0.5 0.5 เกณฑ์การประเมินผล มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ปี 49-50 ระดับ คะแนน น้ำมัน ไฟฟ้า มีข้อมูลในฐานข้อมูลการประหยัดไฟฟ้า (น้ำมัน) ครบถ้วน มีข้อมูลพื้นฐานสำหรับทำดัชนีการใช้พลังงาน ครบถ้วน ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (น้ำมัน) ไม่เปลี่ยนแปลง ประหยัดไฟฟ้า (น้ำมัน) ได้มากกว่าร้อยละ 0 ถึง ร้อยละ 5 ประหยัดไฟฟ้า (น้ำมัน) ได้มากกว่าร้อยละ 5 ถึง ร้อยละ 10 ขึ้นไป
เกณฑ์การประเมินผล มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ปี 49-50 ปัญหา • ได้รับคำอุทธรณ์ • ชั่วโมงให้บริการ มากขึ้น • ปริมาณงาน มากขึ้น • ผู้มารับบริการ มากขึ้น • จำนวนนักเรียน นักศึกษา มากขึ้น • การออกให้บริการ ซึ่งต้องให้บริการ มากขึ้น • ลดการใช้พลังงานของอย่างผิดวิธี เช่น • ลดการให้บริการ • ปรับเปลี่ยนงบประมาณ • ลดการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น
มติคณะรัฐมนตรี 13 มีนาคม 2550 • ใช้เกณฑ์ใหม่ “ค่ามาตรฐานการจัดการใช้พลังงาน”เริ่มปีงบประมาณ 2551 • ตัวแปรจากลักษณะการทำงานเช่น จำนวนบุคลากร พื้นที่ใช้สอยภายในอาคาร เวลาการทำงาน จำนวนผู้เข้ามาใช้บริการ การออกให้บริการ เป็นต้น • ตัวแปรจากสภาวะแวดล้อมเช่น อุณหภูมิ ระยะห่างจากตัวจังหวัดที่ตั้ง เป็นต้น • กลุ่มทั่วไป • กลุ่มโรงพยาบาลและสถานีอนามัย • กลุ่มโรงเรียน • กลุ่มศาลและสำนักงานอัยการ • กลุ่มเรือนจำและสถานคุมประพฤติ • กลุ่มสถานีตำรวจ • กลุ่มสถาบันอุดมศึกษาและสถาบันอาชีวศึกษา • กลุ่มสถานสงเคราะห์ • กลุ่มสถานีวิทยุและสถานีเครื่องส่งสัญญาณ
“ดัชนีชี้วัดการใช้พลังงาน”“ดัชนีชี้วัดการใช้พลังงาน” การตัดสิน = มาตรฐาน สิ่งที่เกิดจริง VS ที่ได้จากสมการ ที่ได้ใบเสร็จค่าไฟฟ้า /ค่าน้ำมัน ทั้งปี ค่าการใช้พลังงานมาตรฐาน – ค่าการใช้พลังงานจริง ค่าการใช้พลังงานจริง ดัชนีมีค่าเป็น “บวก” (+) การใช้พลังงาน “ผ่าน” เกณฑ์มาตรฐาน มีการใช้พลังงานที่ดีแล้ว ดัชนีมีค่าเป็น “ลบ” (-) การใช้พลังงาน “ไม่ผ่าน” เกณฑ์มาตรฐาน ต้องปรับปรุงการใช้พลังงาน
เกณฑ์การประเมินผล มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ปี 2551 EUI ค่าการใช้พลังงานมาตรฐาน – ค่าการใช้พลังงานจริง ค่าการใช้พลังงานจริง
4. การเปรียบเทียบเกณฑ์การประเมินผล มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ระหว่างการลดการใช้พลังงานให้ได้ร้อยละ 10 กับ EUI
การเปรียบเทียบเกณฑ์การประเมินผล มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ ระหว่าง การลดการใช้พลังงานให้ได้ร้อยละ 10vs EUI • โดยใช้ฐานข้อมูลปี 2551 ของหน่วยงานราชการระดับกรม ที่รายงานข้อมูลครบถ้วน นำมาพิจารณาตามเกณฑ์การประเมินผลทั้ง 2 แนวทาง กรณีที่ 1 ตามเกณฑ์การประเมินผล 10% กรณีที่ 2 ตามเกณฑ์การประเมินผล EUI
ผลสรุปการนำ EUI มาใช้เป็นเกณฑ์ประเมินผล จาก 4,886แบบสอบถาม ประเด็นที่ 1 ความพึงพอใจในเกณฑ์ EUI ประเด็นที่ 2 ความเหมาะสมของเกณฑ์ จำนวนเรื่องอุทธรณ์
5. เกณฑ์การประเมินผล ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • มิติที่ 3: มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • ประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณ • ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน - การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ • - การพัฒนากฎหมาย กฎ ระเบียบ ตัวชี้วัดที่ 5.2, 11, 10, 8
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปี 2552 เกณฑ์ปี 2552 ต้องได้คะแนนเต็มในขั้นตอนที่ 1 และ 2 จึงจะประเมินในขั้นตอนที่ 3-5
6. ทำความรู้จักและวิธีรายงาน www.e-report.energy.go.th
1 บันทึกข้อมูล 3 เกณฑ์การประเมินผล 1 3 2 4 ผลการประเมิน การจัดทำดัชนี 2 4 5 5 ข่าวสาร Download 6
การรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการการรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการ เจ้าหน้าที่ พิมพ์ รหัส และ Password 1
ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1
a ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 1.0 คะแนน ระดับคะแนน 1 • ประกอบด้วย • 1. ทบทวนคณะทำงาน • 0.5 คะแนน • ทบทวนแผนปฏิบัติการฯ • 0.5 คะแนน a พิมพ์เลขที่คำสั่ง b b
ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1
ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 (1) ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 1.0 คะแนน ประกอบด้วย • ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า • 0.25 คะแนน • ข้อมูลการใช้น้ำมัน • 0.25คะแนน • 3. ข้อมูลพื้นฐาน 0.5 คะแนน c d c d จากใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้า จาก bill น้ำมัน หรือรายงานการใช้ยานพาหนะ e
ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1
ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ถ้ากลุ่มย่อยไม่ตรง โทรแจ้ง 0 2612 1555 ต่อ 364 และ 358 (2) ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 e ระดับคะแนน 1 • ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า • 0.25 คะแนน • ข้อมูลการใช้น้ำมัน • 0.25คะแนน e • ข้อมูลพื้นฐาน • 0.5 คะแนน ถ้าข้อมูลในระดับที่ 1 และ 2 ครบถ้วน ระบบจะประเมินผลในระดับที่ 3-5 ผลสรุป
เป็นข้อมูลที่สำคัญ ถ้า • มีหน่วยงานอื่น มาร่วมใช้ไฟฟ้า /น้ำมัน กับหน่วยงานของท่าน ตลอดทั้งเดือน • มีการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ที่ไม่ใช่ภาระงานปกติ • _______ ฯลฯ
7. วิธีรวบรวมผลปฏิบัติราชการ
หน่วยงานปฏิบัติ ส่วนราชการ สถาบัน อุดมศึกษา ส่วนจังหวัด • ที่เป็นราชการบริหารส่วนกลางในสังกัดกรมที่จัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวง • ที่เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคที่จัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวง ประเมินผลคะแนนของแต่ละหน่วยงาน • ส่วนราชการที่ตั้งขึ้นเป็นหน่วยงานภายในกรมนั้น ตามกฎกระทรวง แต่ปฏิบัติงานอยู่ในภูมิภาค แล้วคิดจากค่าเฉลี่ยของหน่วยงานในส่วนราชการทั้งหมด • ส่วนราชการที่ตั้งขึ้นเป็นหน่วยงานภายในกรมนั้น ที่ไม่ได้จัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวง • การรายงานผลการดำเนินงานและการประเมินผลของส่วนราชการนั้นๆ • ให้พิจารณาจากสถานที่ตั้งของส่วนราชการว่า ตั้งอยู่ ณ จังหวัดใด ให้รายงานผลการดำเนินงานไปรวมกับจังหวัดที่ตั้งอยู่นั้น น้ำหนัก : • ร้อยละ 3 • ร้อยละ 3 • ร้อยละ 3
วิธีเรียกดูผล การปฏิบัติราชการ 4 4
1. แสดงรายละเอียด 2. แสดงกราฟ
89 84 จำนวนตัวหารเฉลี่ยในแต่ละด้าน
a b c d e 0.5 0.5 0.25 0.25 0.5 0.25 x 2 0.25 x 2 0.25 x 2
a ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 1.0 คะแนน ระดับคะแนน 1 • ประกอบด้วย • 1. ทบทวนคณะทำงาน • 0.5 คะแนน • ทบทวนแผนปฏิบัติการฯ • 0.5 คะแนน a พิมพ์เลขที่คำสั่ง b b
a b 0.5 0.5 0.25 x 2 0.25 x 2
ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 (1) ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 1.0 คะแนน ประกอบด้วย • ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า • 0.25 คะแนน • ข้อมูลการใช้น้ำมัน • 0.25คะแนน • 3. ข้อมูลพื้นฐาน 0.5 คะแนน c d c d จากใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้า จาก bill น้ำมัน หรือรายงานการใช้ยานพาหนะ e
c d 0.25 0.25 AEU AFU
ถ้ากลุ่มย่อยไม่ตรง โทรแจ้ง 0 2612 1555 ต่อ 364 และ 358 (2) e • ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า • 0.25 คะแนน • ข้อมูลการใช้น้ำมัน • 0.25คะแนน e • ข้อมูลพื้นฐาน • 0.5 คะแนน
a b c d e 0.5 0.5 0.25 0.25 0.5 AEU AFU SEU SFU 0.25 x 2 0.25 x 2 0.25 x 2
a b c d e 0.5 0.5 0.25 0.25 0.5 SEU SFU AEU AFU 0.25 x 2 0.25 x 2 0.25 x 2
ผลสรุป 250.499 287.211
89 84 จำนวนตัวหารเฉลี่ยในแต่ละด้าน
ข้อควรระวัง • “0” จะมีค่ามาก ถ้า น้ำมัน 1 พันลิตร แต่พิมพ์ “10000 ลิตร” • “1,000” กับ “1.000” มีค่าต่างกัน • มี “บุคลากรหน่วยงานอื่น” ร่วมใช้พื้นที่ตลอดทั้งเดือน แต่ลืมนับ • ปริมาณไฟฟ้าและน้ำมัน ที่นำมารายงาน ลืมแยกงานเฉพาะกิจ • _____________________________ ฯลฯ • ข้อมูลที่เจตนารายงานเท็จ ถ้า ก.พ.ร. และ TRIS เข้าตรวจประเมินและพบ ....... มีบทลงโทษ