1 / 39

การควบคุมการติดเชื้อเพื่อมุ่ง Patient Safety Goal

การควบคุมการติดเชื้อเพื่อมุ่ง Patient Safety Goal. ศูนย์พัฒนาคุณภาพ ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ทีมนำเฉพาะด้าน ( ENV, RM, HRD, MIS, PCT, MSO, NSO ฯลฯ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง. ผู้อำนวยการโรงพยาบาล. คณะกรรมการ IC. I งานด้าน การเฝ้าระวัง เฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วย/ผู้รับบริการ

ceana
Download Presentation

การควบคุมการติดเชื้อเพื่อมุ่ง Patient Safety Goal

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การควบคุมการติดเชื้อเพื่อมุ่ง Patient Safety Goal

  2. ศูนย์พัฒนาคุณภาพ ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ทีมนำเฉพาะด้าน (ENV, RM, HRD, MIS, PCT, MSO, NSO ฯลฯ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้อำนวยการโรงพยาบาล คณะกรรมการ IC • I งานด้าน • การเฝ้าระวัง • เฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วย/ผู้รับบริการ • เฝ้าระวังการติดเชื้อในบุคลากรจากการปฏิบัติงาน • เฝ้าระวังสุขาภิบาลสุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม • V งานด้าน • บริการคลินิก • การใช้ยาต้าน จุลชีพ • ติดตามผลSensitivity patternและการดื้อยาของเชื้อ • ติดตามการปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วยให้เป็นไปตามมาตรฐาน IC • II งานด้าน • การป้องกันและควบคุมโรค • ควบคุมมาตรฐานการ ทำความสะอาด การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ • ควบคุมมาตรฐานการใช้ Antiseptics & Disinfectants • ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานการบริการ • IV งานด้าน • วิชาการ • ส่งเสริมความรู้ด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล • จัดทำและทบทวนคู่มือ/แนวปฏิบัติด้าน IC • เผยแพร่ข้อมูล/ข่าวสารความก้าวหน้า ด้าน IC • ติดตามการปฏิบัติตามคู่มือ/แนวปฏิบัติ ด้าน IC • ติดตามประเมินทักษะของบุคลากรในการปฏิบัติเพื่อป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ • ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยและการใช้ evidence based ด้าน IC • III งานด้าน • การสอบสวนโรค • กำหนดมาตรการ และแนวทางในการแก้ไขปัญหาและการป้องกันปัญหา • สอบสวนการระบาด • ค้นหาสาเหตุของการติดเชื้อในโรงพยาบาลของการติดเชื้อตำแหน่งต่างๆ

  3. การสัมผัสโรคในบุคลากรทางการแพทย์การสัมผัสโรคในบุคลากรทางการแพทย์

  4. 1. การได้รับอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน ( เข็มตำ สารคัดหลั่งกระเด็น ) 2. การสัมผัสวัณโรคในบุคลากร 3. การสัมผัส meningococcal meningitis 4. การสัมผัสโรคสุกใส และ หัด 5. SARS , Avian Flu

  5. การได้รับอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน ( เข็มตำ สารคัดหลั่งกระเด็น ) 1. HIV 2. Hepatitis B

  6. จำนวนบุคลากรถูกเข็มตำปี 2547 แพทย์ 56 คน Extern 33คน นศพ 49 คน พยาบาล 88 คน ผู้ช่วยพยาบาล 21 คน พนักงานช่วยการพยาบาล 8 คน นักศึกษาพยาบาล 7 คน คนงาน 7 คน อื่นๆ 6 คน จำนวนทั้งหมด 275 คน

  7. จำนวนบุคลากรถูกเข็มตำปี 2548 (ก.ค.) แพทย์ 65 คน Extern 17คน นศพ 31 คน พยาบาล 50 คน ผู้ช่วยพยาบาล 8 คน พนักงานช่วยการพยาบาล 2 คน นักศึกษาพยาบาล 6 คน คนงาน 6 คน จำนวนทั้งหมด 190 คน

  8. สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ 1. ไม่ระมัดระวัง 2. การทิ้งของมีคม 3. ไม่ได้ใส่เครื่องป้องกัน ถุงมือ แว่นตา 4. Recap

  9. แนวปฏิบัติ 1. แนวปฏิบัติเมื่อได้รับอุบัติเหตุ - มีใน web ของคณะแพทย์ส่วนของ” คณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล” 2. การส่ง Lab - counseling patient - เจาะเลือดใส่ Tube G/M - รับใบนำส่ง Lab ที่ห้อง ICN ไม่ต้อง order Lab ใน COM -Lab ตรวจ 3 อย่าง HIV antibody, HIV antigen and Hepatitis B antigen

  10. 3. การเขียนรายงาน แบบ 7500 และ แบบ 7500/1 - เขียนชัดเจน - ครบถ้วน - เบอร์ที่สามารถติดต่อได้ของบุคลากรที่ได้รับอุบัติเหตุ

  11. ปัญหาที่พบในการเฝ้าระวัง needlesticks injury • 1. ไม่ทราบว่าสามารถเจาะเลือดผู้ป่วยตรวจได้ 3 ชนิดคือ HIV antibody, HIV antigen และ Hepatitis B antigen ส่งได้ที่ blood bank ใส่ tube G/M • 2. การเจาะเลือดผู้ป่วยไม่ต้อง order และผู้ป่วยไม่เสียค่าใช้จ่าย • 3. ไม่ได้เขียนใบ 7500และ7500/1 • 4. ใบเจาะเลือดผู้ป่วยสามารถรับได้ที่ห้อง ICN ในเวลาราชการ และที่ผู้ตรวจการบริหารนอกเวลาราชการ ถ้าเป็นเวรดึกไม่สามารถตามผู้ตรวจการบริหารได้ให้เขียนเป็นใบบันทึกส่งไปที่ blood bank ก่อน แล้วแจ้ง ICN ในเวลาราชการจะได้นำใบเจาะเลือดไปแทนให้ • 5. ขอความร่วมมือขอเบอร์ติดต่อกลับให้ด้วย( เบอร์หอผู้ป่วยหรือเบอร์โทรศัพท์เคลื่อนที่)

  12. การสัมผัสโรค meningococcal ในบุคลากร ปี 2548 ครั้งที่ 1. (11 มี.ค. OPD & ER ) สัมผัสโรค 34 คน ครั้งที่ 2. (5 เม.ย. ICU.M3) สัมผัสโรค 27 คน ครั้งที่ 3. (12 เม.ย. OPD-ER,SubICU.M3 อช3 ) มีบุคลากรสัมผัสโรค 69 คน ครั้งที่ 4. (17 มิ.ย. OPD-ER, X-Ray RR OR วิสัญญีศอ. ศช.3) สัมผัสโรค 191 คน จำนวนสัมผัสโรคทั้งหมด 321 คน จำนวนติดเชื้อ 0 คน

  13. การสัมผัสโรคสุกใส ( chicken pox) - Airborne transmission - Contact transmission - ปี 2548 พบที่ หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 เมื่อเดือนเมษายน แต่บุคลากรที่สัมผัสมีภูมิคุ้มกันแล้ว

  14. การสัมผัสโรคหัด ( measles ) - Airborne transmission - ปี 2548 พบที่หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 3 เมื่อ เดือน เมษายนแต่บุคลากรมีภูมิคุ้มกันแล้ว

  15. การสัมผัส TB ในบุคลากร ในปี 2548 เกิดเหตุการณ์ทั้งหมด 4 ครั้ง 1. หอผู้ป่วย Sub ICUM 1 มีผู้สัมผัสทั้งหมด 39 ราย 2. หอผู้ป่วย ENT 1 มีผู้สัมผัสทั้งหมด 25 ราย 3. หอผู้ป่วย PICU 1 มีผู้สัมผัสทั้งหมด 28 ราย 4. หอผู้ป่วย Ped 2 มีผู้สัมผัสทั้งหมด 29 ราย

  16. แนวปฏิบัติเมื่อเกิดหรือสงสัยว่ามีการระบาดแนวปฏิบัติเมื่อเกิดหรือสงสัยว่ามีการระบาด 1. เมื่อไรมีการระบาด - ไม่เคยเกิดขึ้นภายในหอผู้ป่วยแล้วเกิด - พบเชื้อชนิดเดียวกันตั้งแต่ 2 ขึ้นไป 2. แจ้ง ICN ทางโทรศัพท์ 3. แจ้งอนุกรรมการฯของงานการพยาบาลทางโทรศัพท์และผู้ตรวจการที่ดูแลทางด้าน IC 4. ส่งแบบฟอร์มรายงานสงสัยเกิดการระบาดของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลให้ ICN

  17. แบบฟอร์มรายงานสงสัยเกิดการระบาดของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแบบฟอร์มรายงานสงสัยเกิดการระบาดของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ หอผู้ป่วย ………….. โทร. ………….งานการพยาบาลผู้ป่วย……………… วันที่…………เดือน………...…….2545 เชื้อก่อ NI. ที่สงสัยจะเกิดการระบาด ………………………………………… ผู้ป่วยชื่อ………………………………เพศ………HN……………..NI ตำแหน่ง………… Onset วันที่ ……………………………… ผู้ป่วยชื่อ………………………………….เพศ………HN……………..NI ตำแหน่ง…………. Onset วันที่ ……………………………… ผู้รายงาน.………………………………… วันที่ …….……………………………….. หมายเหตุ แจ้ง ICN ทางโทรศัพท์ / โดยวาจาแล้ว แจ้งอนุกรรมการฯ ของงานการพยาบาล ทางโทรศัพท์ / โดยวาจาแล้ว

  18. เมื่อเกิด Outbreak / การ Contact โรค ICC . IC-Co. ICC Dept. PCT. ICC. Infectious ICS/ICN N.Dept. NSO ICWN Outbreak ward

  19. 5. วางมาตรการป้องกันดังนี้ 5.1. เน้นย้ำเรื่องล้างมือ 5.2. Standard precaution 5.3. Airborne precaution 5.4. Droplet precaution 5.5. Contact precaution 5.6. Strict aseptic technique

  20. แนวทางการแจ้งข้อมูลโรคที่ต้องเฝ้าระวังและรายงานทางระบาดวิทยาแนวทางการแจ้งข้อมูลโรคที่ต้องเฝ้าระวังและรายงานทางระบาดวิทยา 1. หัวหน้าหอผู้ป่วย/หัวหน้าหน่วย แจ้ง ICN ที่เบอร์โทรศัพท์ 5714 หรือ 5724 ( ห้อง พอสว.) เมื่อมีผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคที่ต้องเฝ้าระวังและรายงานทางระบาดวิทยาตามระบุในบัตรรายงานผู้ป่วย แบบ รง. 506 2. เมื่อได้รับแจ้ง ICN จะไปเก็บข้อมูลรายละเอียดของผู้ป่วยนั้นๆด้วย แบบ รง. 506 ที่หอผู้ป่วยภายในวันที่หอผู้ป่วย/หน่วยงานรายงาน กรณีรายงานจากห้องตรวจต่างๆ ของงานการพยาบาลผู้ป่วยนอกและฉุกเฉินขอให้ทางห้องตรวจแยก OPD card ผู้ป่วยรายนั้นๆไว้ให้ด้วยเพื่อ ICN จะได้ศึกษาข้อมูลเพื่อลงรายละเอียดในแบบรายงาน 506 3. ทุกสัปดาห์ ICN จะเป็นผู้รวบรวมแบบรายงาน 506 ทั้งหมดส่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) โดยผ่านสำนักงานผู้อำนวยการฯ และ ICN ต้องรีบรายงาน สสจ. ทันทีกรณีมีผู้ป่วยโรคที่ต้องรายงานภายใน 24 ชั่วโมง

  21. โรคที่ต้องรายงานภายใน 24 ชั่วโมง 1. Cholera 2. Typhoid ระบาดเป็นกลุ่ม 3. Diptheria 4. Pertussis 5. Tetanus ( อายุมากกว่า 1 เดือน ) 6. Meningococcal meningitis 7. Rabies 8. Leptospirosis เมื่อระบาดเป็นกลุ่ม 9. Anthrax

  22. การจัดการสิ่งแวดล้อม

  23. วัตถุประสงค์ในการจัดการสิ่งแวดล้อมวัตถุประสงค์ในการจัดการสิ่งแวดล้อม 1. เพื่อให้สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาลปลอดภัยต่อผู้ป่วย บุคลากร และผู้มาเยี่ยม 2. เพื่อป้องกันผู้ป่วย บุคลากร จากการปนเปื้อนเชื้อที่มีในสิ่งแวดล้อม 3. เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากสิ่งแวดล้อมสู่ผู้ป่วยและบุคลากร

  24. การปนเปื้อนเชื้อในสิ่งแวดล้อมเกิดจากการปนเปื้อนเชื้อในสิ่งแวดล้อมเกิดจาก 1. เลือด สารคัดหลั่งหรือสิ่งขับถ่ายจากผู้ป่วยได้แก่ หนอง อุจจาระ ปัสสาวะ อาเจียน น้ำมูกน้ำลาย เปรอะเปื้อนสิ่งของเครื่องใช้ โต๊ะเตียงหรือพื้น และการทำความสะอาดบริเวณที่เปรอะเปื้อนไม่ดีพอ 2. อุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ที่สัมผัสกับส่วนของร่างกายของผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ 3. สิ่งของเครื่องใช้ เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่มของผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อหรือผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อที่รุนแรง

  25. 4. เศษอาหาร น้ำยาทำความสะอาดที่ใช้แล้ว หรืออุปกรณ์ที่เปียกชื้นมักมีการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรียกรัมลบทรงแท่งเป็นจำนวนมาก 5. ห้องน้ำ ห้องส้วม ซึ่งมีความชื้นอยู่ตลอดเวลาและมักจะมีการระบายอากาศไม่ดี ทำให้มีเชื้อแบคทีเรียกรัมลบอาศัยอยู่

  26. องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล 1. ผู้ป่วย 2. บุคลากรในโรงพยาบาล 3. อากาศ 4. น้ำ 5. อาหาร 6. ขยะ

  27. การดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลการดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล 1. การแยกเขตสะอาดเขตสกปรกภายในหอผู้ป่วย การเก็บของที่ผ่านการทำให้ปราศจากเชื้อ (ของนึ่ง) 2. การทำความสะอาด - Sink P. aeruginosa - การแยกอ่างล้างของสะอาด สกปรก และ อ่างล้างมือ - การล้างของก่อนส่งนึ่ง

  28. ขยะ - การแยกขยะให้ถูกต้องโดยเฉพาะขยะติดเชื้อ - การจัดวางในบริเวณหอผู้ป่วย - การทิ้งของมีคมในภาชนะที่ถูกต้อง

  29. ขอบคุณค่ะ

More Related