580 likes | 833 Views
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง. อัมพร วิโนทัย สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. 2 เมษายน 2554 โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ. เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังชนิดสีชมพู. การแพร่กระจายตัว. การแพร่กระจายตัว. ความเสียหาย. ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ.
E N D
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังการใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง อัมพร วิโนทัย สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร 2 เมษายน 2554 โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ
เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังชนิดสีชมพูเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังชนิดสีชมพู
ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ แมลงช้างปีกใส: ตัวอ่อน
ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ ผีเสื้อSpalgisepius: หนอน
ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ ผีเสื้อSpalgisepius: ดักแด้
ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ ผีเสื้อSpalgisepius: ตัวเต็มวัย
ด้วงเต่าตัวห้ำ Brumoides sp. • ระยะไข่ 5.63 วัน • ตัวอ่อนมี 5 วัย ระยะตัวอ่อน 15.67 วัน • ระยะดักแด้ 6.00 วัน • ระยะตัวเต็มวัย 39.28 วัน • ระยะไข่ - ตัวเต็มวัย 43 วัน • ตัวเต็มวัยกินเพลี้ยแป้ง 18.64 ตัว/วัน • ตลอดชีวิตตัวเต็มวัย 1 ตัวกินเพลี้ยแป้ง 783 ตัว
ด้วงเต่าลายหยัก ด้วงเต่าสีส้ม ปริมาณเพลี้ยแป้งที่กิน เพศผู้ 7.93 ตัว/วันเพศเมีย 6.77 ตัว /วัน • เพศผู้ 9.91 ตัว/วันเพศเมีย 8.23 ตัว /วัน
แตนเบียน Acerophagussp.
ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ
ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ
ความเสียหาย • ยอดหงิก • ผลผลิตลดลงมากถึง 80% • ขาดแคลนท่อนพันธุ์ • ผลผลิตเฉลี่ย 1.28 ตัน/ไร่
วงจรชีวิตเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพูไม่มีเพศผู้ ทุกตัวเป็นเพศเมีย วางไข่ได้เมื่อเป็นตัวเต็มวัย
คุณลักษณะทางชีววิทยาของเพลี้ยแป้งสีชมพูคุณลักษณะทางชีววิทยาของเพลี้ยแป้งสีชมพู
ขั้นตอนการนำเข้า • ขอ Import Permit • นำเข้าศัตรูธรรมชาติ • ทดสอบความปลอดภัยในการนำมาใช้ ในห้องปฏิบัติการกักกัน • สรุปผลการศึกษา เสนอกรมวิชาการเกษตร
ขั้นตอนการนำเข้า (ต่อ) • ขอ Release Permit • เพาะเลี้ยงเป็นปริมาณมาก • นำออกปล่อยในภาคสนาม • ประเมินผลโครงการ • รายงานกรมวิชาการเกษตร
แตนเบียนเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพูแตนเบียนเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู เพศเมีย
ระยะเวลาตั้งแต่วางไข่ – มัมมี่ = 9 – 10 วัน วางไข่ – ตัวเต็มวัย = 17 – 21 วัน เป็นตัวเบียน
ปลูกมันสำปะหลัง: ใช้ต้นมันอายุอย่างน้อย 45 วัน
เลี้ยงเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู: เพลี้ยอายุอย่างน้อย 21 วัน
การเพาะเลี้ยงบนผลฟักทอง: ใช้ได้ดีเมื่อมีเพลี้ยในไร่มาก ๆ
เก็บยอดมันสำปะหลัง ที่มีเพลี้ยแป้งจากในไร่ นำมาวางบนตะแกรง ซ้อนทับด้วยฟักทอง ทิ้งไว้ 5-7 วัน เพลี้ยจะย้ายจากยอดมันมาอยู่บนฟักทอง
การสุมยอด เก็บยอดมันสำปะหลังที่มีเพลี้ยแป้ง จากแปลงที่ปล่อยแตนเบียนแล้ว 1 เดือน
การสุมยอด: นำมากองรวมกันในมุ้ง
การสุมยอด: จะดูดเก็บแตนเบียนได้ในวันรุ่งขึ้น
การประเมินผล:ดูจากการปรากฎตัวการประเมินผล:ดูจากการปรากฎตัว
การประเมินผล:ดูจากยอดที่แตกออกมาใหม่การประเมินผล:ดูจากยอดที่แตกออกมาใหม่