1 / 14

มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน

มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน. โดย...นายแพทย์แสวง หอมนาน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครนายก. 1. เข้าใจหลักการของกองทุนฯ. การกระจายอำนาจ (การตัดสินใจ,การบริหารจัดการ). เพิ่มการเข้าถึงบริการส่งเสริม/ป้องกัน/ฟื้นฟูที่บ้าน/ชุมชน.

Download Presentation

มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อนมุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน โดย...นายแพทย์แสวง หอมนาน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครนายก

  2. 1.เข้าใจหลักการของกองทุนฯ1.เข้าใจหลักการของกองทุนฯ การกระจายอำนาจ (การตัดสินใจ,การบริหารจัดการ) เพิ่มการเข้าถึงบริการส่งเสริม/ป้องกัน/ฟื้นฟูที่บ้าน/ชุมชน สร้างความร่วมมือระหว่างอปท./หน่วยบริการ/ประชาชน สร้างการมีส่วนร่วม/เป็นเจ้าของระบบสุขภาพของประชาชน สร้างนวัตกรรมการดูแลสุขภาพโดยชุมชนและประชาชน เสริมศักยภาพท้องถิ่น ในการสร้างสุขภาพชุมชน

  3. 2.คัดเลือกและพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนฯ2.คัดเลือกและพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนฯ 1.เข้าใจวัตถุประสงค์ของกองทุน 2.การบริหารจัดการกองทุน 3.อำนาจหน้าที่ของกรรมการกองทุนฯ

  4. 3.พัฒนากองทุนฯให้เป็นศูนย์เรียนรู้3.พัฒนากองทุนฯให้เป็นศูนย์เรียนรู้ 1.มีการดำเนินงานที่เป็นตัวอย่าง 2.การบริหารจัดการกองทุนเป็นไปตามระเบียบ 3.การดำเนินงานต่อเนื่อง

  5. 4.การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้4.การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ค้นพบปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผู้นำมีวิสัยทัศน์ด้านสุขภาพ ทีมคณะกรรมการเข้มแข็ง (รู้ เข้าใจ หลักบริหารกองทุน ) เครือข่ายสุขภาพในชุมชนเข้มแข็ง อสม./ผู้สูงอายุ/จิตอาสา บันทึกโปรแกรมการบริหารจัดการกองทุนถูกต้อง ครบถ้วน ค้นหานวัตกรรมเพื่อแก้ปํญหาที่เกิดในพื้นที่

  6. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุน ณ อบต.พระอาจารย์ อ.องครักษ์

  7. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุน ณ ที่ว่าการอำเภอเมือง อ.เมืองนครนายก

  8. 5.การประเมินผลกองทุน ด้านผลงาน 1. กองทุนศักยภาพดีเด่น , grade A+ (90-100) 8 แห่ง 2. กองทุนศักยภาพดี , gradeA (70-89) 27 แห่ง 3. กองทุนศักยภาพปานกลาง , grade B (50-69) 9 แห่ง 4. กองทุนที่ต้องเร่งพัฒนา, grade C ( 0- 49 ) ** 1 แห่ง

  9. 5.การประเมินผลกองทุน(ต่อ)5.การประเมินผลกองทุน(ต่อ) ปัจจัยขัดขวาง - ผู้นำ และ เลขากองทุนมารับงานใหม่ - คณะกรรมการไม่เข้มแข็ง ปัจจัยแห่งความสำเร็จ - ผู้นำ รู้และเข้าใจกองทุน - การทำงานเป็นทีม - การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ท้องถิ่น สาธารณสุข ประชาชน องค์กรในพื้นที่

  10. 6.เยี่ยมสนับสนุน การบริหารจัดการและการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น จังหวัดนครนายก ปี 2557 ประเมินผลการดำเนินงานกองทุน 2556 1. กองทุนศักยภาพดีเด่น grade A+ (90-100) 8 แห่ง 2. กองทุนศักยภาพดี gradeA (70-89) 27 แห่ง 3. กองทุนศักยภาพปานกลาง grade B (50-69) 9 แห่ง 4. กองทุนที่ต้องเร่งพัฒนา grade C ( 0- 49 ) **1 แห่ง 20 มค. 57 ทต.เกาะหวาย อบต.ท่าเรือ 23 มค. 57ทต.ท่าช้าง อบต.หินตั้ง 7 กพ. 57ทต.บ้านนา อบต.บ้านพริก 12 กพ. 5 อบต.คลองใหญ่ 17 กพ. 57 อบต.ชุมพล โดย..คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัดนครนายก &สปสช.เขต 4 สระบุรี

  11. สิ่งได้เรียนรู้จากกองทุน....grad b-c • 1. ไม่มีการประชุมของคณะกรรมการบริหารกองทุนใน 1 ปีที่ผ่านมา • 2. คณะกรรมการบริหารกองทุนขาดความเข้าใจเรื่อง 2.1 วัตถุประสงค์การดำเนินงานกองทุน 2.2 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.3 ระเบียบการจ่ายเงินกองทุนฯ • 3. ขาดการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการบริหารกองทุน และประชาชนในชุมชนในการค้นหา และวางแผนดำเนินงาน ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสุขภาพ ส่งผลให้เงินคงเหลือบัญชีสูง

  12. ข้อเสนอแนะจากคณะอนุกรรมการฯ และ สปสช. • 1. กองทุนออกแบบมาให้บริหารงานในรูปคณะกรรมการ ดังนั้น 1.1 คณะกรรมการทุกคนควรเข้ารับการอบรมฟื้นฟูทุกต้นปีจากทีม สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ร่วมกับศูนย์เรียนรู้ระดับอำเภอ 1.2 ประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย 1ครั้ง/ 2 เดือน เพื่อ... อนุมัติโครงการ/ติดตามสรุปผลการดำเนินงาน และประเมินผล การดำเนินงาน • 2. คณะกรรมการและชุมชน เป็นเจ้าของงบประมาณ ดังนั้นต้องมีการ 2.1 จัดเวทีประชาคมค้นหาปัญหา จัดลำดับ จัดทำโครงการ 2.2 อนุมัติโครงการในกรอบวัตถุประสงค์กองทุนและประเภท กิจกรรม( 4 ประเภท)

  13. แลกเปลี่ยน....เรียนรู้...มุ่งสู่เกรด A+ เทศบาลตำบลเกาะหวาย ( 20 มกราคม 2557 )

  14. สวัสดี

More Related