410 likes | 525 Views
การศึกษาความเสี่ยงต่อการได้รับสารตะกั่ว ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สังกัดของกรุงเทพมหานคร. พญ จันทิมา ใจพันธ์ งามตา รอดสนใจ ศรีสุภา เพ็ชรจินพะเนา วุฒิพงษ์ เพิ่มมณีรัตน์ รศ นพ อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ 10 กุมภาพันธ์ 2553. ถังน้ำเย็นมี"สารตะกั่ว".
E N D
การศึกษาความเสี่ยงต่อการได้รับสารตะกั่วของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สังกัดของกรุงเทพมหานคร พญ จันทิมา ใจพันธ์ งามตา รอดสนใจ ศรีสุภา เพ็ชรจินพะเนา วุฒิพงษ์ เพิ่มมณีรัตน์ รศ นพ อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ 10 กุมภาพันธ์ 2553
ถังน้ำเย็นมี"สารตะกั่ว"ถังน้ำเย็นมี"สารตะกั่ว" • ทำลายสมอง ไขกระดูก ระบบประสาท ตับ ไต หัวใจ และทางเดินอาหาร ฯลฯ อาการ ปวดศีรษะ รู้สึกสับสน ความจำเสื่อม ปวดกล้ามเนื้อ โลหิตจาง เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เกิดอาการตกเลือด เกิดอาการเพ้อ ชัก เป็นอัมพาต • ชลบุรี 5 รร. สารตะกั่ว 0.060-0.670 มิลลิกรัม/ลิตร • สงขลา 2 รร. พบสารตะกั่ว 0.100-0.200 มิลลิกรัม/ลิตร • ภูเก็ต 1 รร. พบสารตะกั่ว 0.240 มิลลิกรัม/ลิตร • พิษณุโลก 5 รร. พบสารตะกั่ว 0.115-0.153 มิลลิกรัม/ลิตร • เชียงราย 1 รร. พบสารตะกั่ว 0.080 มิลลิกรัม/ลิตร ที่มา: ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สุราษฎร์ธานี ดำเนินการตรวจวิเคราะห์น้ำดื่มในโรงเรียน ปี 2550
พิษจากสารตะกั่วมีผลโดยตรงต่อระดับสติปัญญา สมองและระบบประสาทอย่างถาวรในเด็กRogan et al, 2001 IQ ลดลง 4.6 ถ้าระดับสารตะกั่วในเลือด < 10 mcg/dL, IQ ลดลง 7.4 ถ้าระดับสารตะกั่วในเลือด > 10 mcg/dl Canfield et al, 2003
เด็กกับความเสี่ยงต่อภาวะพิษสารตะกั่วเด็กกับความเสี่ยงต่อภาวะพิษสารตะกั่ว 1.การดูดซึมสารตะกั่วเข้าสู่ร่างกาย 10 - 15 % ผู้ใหญ่ 50% เด็ก 2.พื้นที่ผิวกาย 3.พฤติกรรมในการหยิบของเข้าปากรวมถึงการมีกิจกรรมบนพื้นที่มี การปนเปื้อนด้วยสารตะกั่ว บทนำ (2) UNEP-UNICEF1997
บทนำ (3) อากาศ 15% น้ำ 10% อาหาร 20% สี ฝุ่น และดิน 55%
บทนำ (4) - 9.6% เด็กอายุ 2-6 ปี ในกรุงเทพมีระดับสารตะกั่ว ในเลือด > 10 mcg/dL - 27.4% เด็กอายุ 6-12 ในกรุงเทพมีระดับสารตะกั่ว ในเลือด > 10 mcg/dL การศึกษาอุบัติการณ์และความเสี่ยงของสารตะกั่ว ในประเทศไทยปี 2535-2542 สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์และคณะ (National Research Council of Thailand)
บทนำ (5) 16.9% ของเล่นในประเทศไทย มีระดับสารตะกั่วในที่สูงกว่าค่ามาตรฐาน อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์, 2550 57% ของสีทาบ้านมีสารตะกั่วเกินค่ามาตรฐาน, สีทาบ้านจึงเป็นแหล่งที่มาที่สำคัญของสารตะกั่วในประเทศจีน G.Z. Lin et al, 2551 ค่าใช้จ่ายในการรักษาภาวะพิษสารตะกั่วสูงกว่าการปรับปรุงแก้ไขสิ่งแวดล้อม และที่สำคัญการรักษาภาวะพิษสารตะกั่วไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ในระยะยาว Cochrane review 2549
คำถามงานวิจัย ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในสังกัดของกรุงเทพมหานครมี ความเสี่ยงที่จะได้พบสารตะกั่ว ในสิ่งแวดล้อมมากกว่าค่ามาตรฐานสากลหรือไม่ ? ศูนย์พัฒนาเด็ก ก่อนวัยเรียนฯ 293 ศูนย์และ เด็กกว่า 30,000 คน
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความชุกของสิ่งแวดล้อมที่มีระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐาน ในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร
วิธีวิจัย (1) แบบแผนการวิจัย: Cross-sectional survey ประชากรที่ทำการศึกษา: ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ในสังกัดกรุงเทพมหานคร
วิธีวิจัย (2) 293 ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สุ่มสำรวจ 2 ศูนย์ฯ เพื่อทำการศึกษาวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจที่เหมาะสม 17 ศูนย์ฯจะถูกเลือกแบบสุ่มและสมัครใจ และตรวจสารตะกั่วในสิ่งแวดล้อม 13 จุด ถ้าพบมีค่าสารตะกั่วสูง ตรวจซ้ำอีกครั้ง เพื่อยืนยันผล ความชุกของสิ่งแวดล้อมที่มีระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐาน ในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน
แผนที่แสดงการกระจายตัวของแผนที่แสดงการกระจายตัวของ ศูนย์พัฒนาด็กก่อนวัยเรียนฯ ที่เข้าร่วมการศึกษา
ฝุ่นในอาคาร สีทาบ้าน โต๊ะเรียน ดิน ของเล่น ดินน้ำมัน ดินสอสี
น้ำดื่ม น้ำประปา ภาชนะหุงต้มที่เชื่อมด้วยสารตะกั่ว ภาชนะจัดเก็บอาหาร แก้วน้ำ ช้อน
วิธีวิจัย (5) ตรวจหาสารตะกั่วโดย Intertek Testing Services (Thailand) Ltd. บริษัทที่ได้รับการรับรองโดยกระทรวงอุตสาหกรรมให้เป็น ที่ตรวจรับรองตามมาตรฐาน ดำเนินวิธีการตรวจที่เป็นไปตาม Standard consumer safety specification
รายชื่อศูนย์ที่เข้าร่วมการการศึกษารายชื่อศูนย์ที่เข้าร่วมการการศึกษา • ศูนย์เคหะนคร • ศูนย์ชุมชนสะพาน 1 • ศูนย์ไฮเทคเอพพาเรลจำกัด • ศูนย์ศาลาแดง • ศูนย์ริมคลองสามเสน • ศูนย์ชุมชนมาลุลอิสลาม • ศูนย์พัวซิวติ่ง-ลิ้มเซาะคิ้ม • ศูนย์ร่วมพัฒนาบ้านป่า • ศูนย์บางชันพัฒนา • ศูนย์เกาะจวนซันประสิทธิ์ • ศูนย์ชุมชนบดินทรเดชา • ศูนย์ชุมชนวัดไชยอุทิศ • ศูนย์วัดปากน้ำฝั่งเหนือ • ศูนย์วัดศรีบุญเรือง • ศูนย์ชุมชนวัดไผ่ตัน • ศูนย์ นปอ ประจำพื้นที่สีกัน • ศูนย์ดวงประทีป
ระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐานระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐาน ระดับสารตะกั่วอยู่ในค่ามาตรฐาน 187 สิ่งส่งตรวจ 11 สิ่งส่งตรวจ (5.9%) 176 สิ่งส่งตรวจ (94.1%) • 17 น้ำดื่มน้ำประปา • 16 ของเล่น, 8 ดินน้ำมัน • 30 ภาชนะจัดเก็บอาหาร,ภาชนะหุงต้ม • 18 แก้วน้ำ, 17 ช้อน • 11 ฝุ่นในอาคาร • 18 ดินสอสี 9/26 (34.6%) สีทาบ้าน 1 โต๊ะเรียน 1 ฝุ่นดิน
ระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐาน ระดับสารตะกั่วอยู่ในค่ามาตรฐาน 17 ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน 10 ศูนย์พัฒนาเด็ก (58.8%) 7 ศูนย์พัฒนาเด็ก (41.2%) สีทาบ้าน 9/17(52.9%) โต๊ะ 1/17 ฝุ่นดิน 1/17 • น้ำดื่มน้ำประปา, ของเล่น • ดินน้ำมัน , ฝุ่นในอาคาร • ภาชนะจัดเก็บอาหาร,ภาชนะหุงต้ม • แก้วน้ำ, ช้อน, ดินสอสี
แผนที่แสดงการกระจายของแผนที่แสดงการกระจายของ ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนฯ ที่ระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐาน
เปรียบเทียบข้อมูลพื้นฐานของศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ลักษณะ สารตะกั่วสูง สารตะกั่วอยู่ในเกณฑ์ รวม p-value -พื้นที่ความเสี่ยงสูง* 4 2 6 ns** -พื้นที่ความเสี่ยงต่ำ 65 11 ns -จำนวนเด็ก 168 107 143 ns -สร้างก่อนปี1997*** 7 4 11 ns -อายุของศูนย์ 16.5 20.4 18.1 ns *พื้นที่ความเสี่ยงสูงคือ ตำแหน่งอยู่ใกล้ ทางด่วน ถนน โรงงาน **ns : no significant คือ p-value > 0.05 *** ปีที่ประกาศมาตรฐานแบบสมัครใจมาตรฐาน มอก. 1406-2540 Flat enamel ให้มีตะกั่วได้ไม่เกิน 0.06% โดยน้ำหนักของสารที่ไม่ระเหย (600 ppm)
เปรียบเทียบข้อมูลพื้นฐานของศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ลักษณะ สารตะกั่วสูง สารตะกั่วอยู่ในเกณฑ์ รวม p-value -สีทาภายในอาคาร 9 716 - -สีทาภายนอกอาคาร 1 3 4 - -การหลุดลอกของสี 7 5 12 ns -ชนิดของสี 9 8 17 - -สีน้ำมัน 8 5 13 ns -สีน้ำ 0 3 3 - -สีพลาสติก 1 0 1 - -ดินทรายสนามเด็กเล่น 1 12 13 -
เปรียบเทียบผลการศึกษาสารตะกั่วในสีทาบ้านเปรียบเทียบผลการศึกษาสารตะกั่วในสีทาบ้าน
การนำไปใช้ทางคลินิก (1) • - ความชุกของสิ่งแวดล้อมที่มีระดับสารตะกั่วสูงในสิทาบ้านที่มากกว่าค่ามาตรฐาน ในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนฯ คือร้อยละ 52.9(9 ใน 17 ศูนย์) • - ระดับตะกั่วในสารละลาย (Soluble lead) ที่พบในสีทาบ้านมีค่าตั้งแต่ 44 - 4,212 ppm (ค่าปกติ<90 ppm.) • -ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สังกัดกรุงเทพมหานครมากกว่า 50% มีโอกาสพบสารตะกั่วในสีทาบ้านที่มากกว่าค่ามาตรฐาน(85 – 225 ศูนย์) • -เด็กที่มีความเสี่ยงกว่า 15,000 คน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ควรต้องหาแนวทางแก้ไขและป้องกันสารตะกั่วเป็นพิษ (8,315 – 22,080 คน)
การนำไปใช้ทางคลินิก (2) แนวทางการลดความเสี่ยง 1.1 จัดตั้งทีมปรับปรุงสารตะกั่ว (Lead Renovation team) เพื่อทำการปรับปรุงซ่อมแซมและแก้ไขสารตะกั่วที่สูงกว่าค่ามาตรฐาน โดยยึดแนวทางการดำเนินงาน และวิธีการต่างๆ ตาม แนวทางของ EPA (U.S Environmental Protection Agency) 1.2 แนวทางการลดสารตะกั่วอย่างเร่งด่วน -ให้ความรู้กับครูและผู้ดูแลเด็กในการป้องกันสารตะกั่วในสิ่งแวดล้อม เช่น การล้างมือ การทำความสะอาด
แจ้งหน่วยงานที่รับผิดชอบสีที่ขายในท้องตลาด (กระทรวงอุตสาหกรรม และ สำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค) เพื่อหาวิธีการควบคุมระดับสารตะกั่ว หรือ หาวิธีการแจ้งแก่ผู้บริโภคให้ชัดเจนในการเลือกใช้สีให้ถูกต้อง • แจ้งแก่ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบศูนย์พัฒนาเด็ก (กทม กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นรับผิดชอบศูนย์พัฒนาเด็กส่วนภูมิภาค กระทรวงพัฒนาสังคมรับผิดชอบศูนย์พัฒนาเด็กเอกชน และกระทรวงสาธารณสุข) เพื่อดำเนินการขยายผลการเฝ้าระวังต่อไป
ผลการดำเนินงาน ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง
ข้อสรุป “ค่าใช้จ่ายในการรักษาสูงกว่าค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงแก้ไขสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย ที่สำคัญพบว่าไม่มีระดับ สารตะกั่วในเลือดค่าใดที่ถือว่าปลอดภัยอย่างแท้จริง เพราะพิษตะกั่วที่มีผลต่อสมองจะเกิดอย่างถาวรแม้ว่า จะทำการรักษาแล้วก็ตาม ” Household interventions for prevention of domestic lead exposure in children (protocal) , Cochrane review2006
กิตติกรรมประกาศ • ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครที่เข้าร่วมการศึกษา • ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก