1.16k likes | 2.31k Views
โรคหลอดเลือดสมอง. รศ . พญ. นิจศรี ชาญณรงค์ สาขาประสาทวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . โรคหลอดเลือดสมอง. Cerebrovascular disease CVD (CVA) STROKE Brain Attack.
E N D
โรคหลอดเลือดสมอง รศ. พญ. นิจศรี ชาญณรงค์ สาขาประสาทวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โรคหลอดเลือดสมอง Cerebrovascular disease CVD (CVA) STROKE Brain Attack “Rapidly developed clinical signs of focal(global) disturbance of cerebral function lasting more than 24 hours or leading to death, with no apparent cause other than a vascular origin.”
Percentage Breakdown of Deaths from Cardiovascular Diseases United States: 2001 Source: CDC/NCHS.
Magnitude of disease • Vascular disease in USA / Europe 3 : 1
CAD and CVD Mortality in Urban and Rural China S.Yusuf. et al. Circulation. 2001;104:2855-2864.
CHD and CVD Mortality in Japan S.Yusuf. et al. Circulation. 2001;104:2855-2864.
Mortality of IHD and stroke Approximate Adjusted Mortality per 100,000 Mohan V et al. J Am Coll Cardiol 2001;38:682–7 Singh RB et al.J Hum Hypertens 2000;14:749–763. Pan W-H & Chiang BN. Atherosclerosis 1995;118:285–295. Heng DM et al. Ann Acad Med Sing 2000; Mar; 29(2):231–6. Khor GL. Asia Pacific J Clin Nutr 2001;10:76–80
Mortality of IHD and stroke Approximate Adjusted Mortality per 100,000 Mohan V et al. J Am Coll Cardiol 2001;38:682–7 Singh RB et al.J Hum Hypertens 2000;14:749–763. Pan W-H & Chiang BN. Atherosclerosis 1995;118:285–295. Heng DM et al. Ann Acad Med Sing 2000; Mar; 29(2):231–6. Khor GL. Asia Pacific J Clin Nutr 2001;10:76–80
The top killers in Thailand 1999 (Male) Diseases Deaths % 1. HIVAIDS 40,064 18 2.Traffic accidents 21,901 10 3. Stroke 18,286 8 4. Liver cancer 13,774 6 5. COPD 10,977 5 6. Ischemic heart disease 9,734 4 7. Homicide/Violence 6,786 3 8. Suicides 6,671 3 9. Lung cancer 6,461 3 10. Diabetes 6,223 3 ที่มา: Burden of disease and injuries in Thailand: Minstry of Public Health Nov 2002 (http://203: 157.19.191/index-burden.htm)
Top 10 killers in Thailand 1999 (Female) Diseases Deaths % 1. Stroke 23,433 14 2.HIVIAIDS 16,443 10 3. Diabetes 12,235 7 4. Ischemic heart disease 8,089 5 5. Liver cancer 7,938 3 6. Lower respiratory tract infection 5,521 3 7. Traffic accident 5,330 3 8. COPD 5,132 3 9. Tuberculosis 4,413 3 10. Nephritis & Nephrosis 4,123 2 ที่มา: Burden of disease and injuries in Thailand: Minstry of Public Health Nov 2002 (http://203: 157.19.191/index-burden.htm)
Magnitude of disease • Vascular disease in Asia (Chinese / Japanese / Korea/Thai) 1 : 3
Stroke Mortality in Thailand • A leading cause of serious, long-term disability • >40,000 new or recurrent strokes occur per year in Thailand • 1 death due to stroke every 12 minutes
เสียชีวิต ความผิดปกติ muscle weakness, ataxia, loss of sensation, etc Stroke ความพิการ Inability to walk, feed, etc เกิดโรคซ้ำ (สมองเสื่อมvascular dementia) ผลของ stroke ปัจจัยเสี่ยง
ตารางแสดงโรคที่เป็นสาเหตุสำคัญของของการสูญเสียDisability Adjusted Life Years (DALYs)ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2542 (เพศชาย) โรค DALYs ร้อยละ 1. เอดส์ 960,086 17 2. อุบัติเหตุจราจร 510,909 9 3. หลอดเลือดสมอง 271,009 5 4. มะเร็งตับ 248,083 4 5. เบาหวาน 168,594 3 6. กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 159,188 3 7. ถุงลมปอดโป่งพอง 156,861 3 8. ถูกฆาตกรรม/ถูกทำร้าย 156,853 3 9. ฆ่าตัวตาย/ทำร้ายตัวเอง 147,988 3 10. ยาเสพติด 137,703 2 ที่มา: Burden of disease and injuries in Thailand: Minstry of Public Health Nov 2002 (http://203: 157.19.191/index-burden.htm)
ตารางแสดงโรคที่เป็นสาเหตุสำคัญของของการสูญเสีย DALYs ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2542 (เพศหญิง) โรค DALYs ร้อยละ 1. เอดส์ 372,956 10 2. หลอดเลือดสมอง 282,509 7 3.. เบาหวาน 267,155 7 4. โรคซึมเศร้า 145ม336 4 5. มะเร็งตับ 118,384 3 6. ข้อเข่าเสื่อม 117,994 3 7. โลหิตจาง(ขาดธาตุเหล็ก) 112,990 3 8. อุบัติเหตุจราจร 108,449 3 9. กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 102,863 3 10. ต้อกระจก 96,091 2 ที่มา: Burden of disease and injuries in Thailand: Minstry of Public Health Nov 2002 (http://203: 157.19.191/index-burden.htm)
Epidemiology of stroke in the elderly Thailand Viriyavejakul A, Senanarong V, Prayoonwiwat N. J Med Assoc Thai 1998;81(7) 497 • 3036 Thai elderly (>60 years old) from 4 regions • Nakhonpathom, Lampang, Sakonnakon, Ranong • Aug 1994-oct 1996 • 34 strokes were identified (Prevalence 1.12%) =112/100,000 + fatal cases
Cost of stroke • Acute hospitalization • 10,000-200,000 Bht • Cost of medicine and rehabilitation after discharge • Indirect costs
โรคหลอดเลือดสมอง โรคอัมพฤกษ์ หรือ อัมพาต STROKE , CEREBROVASCULAR DISEASE (CVD) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ 1. โรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (Ischemic stroke) 2. โรคหลอดเลือดสมองแตก (Hemorrhagic stroke)
Transient Ischemic Attack (TIA) • Episodes of temporary and focal cerebral dysfunction of vascular (occlusive) origin. • Lasting < 24 hours
STROKE ! ! หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองตีบหรืออุดตัน สมองขาดเลือด ไม่ทำงาน
โรคหลอดเลือดสมองแตก การแตกของหลอดเลือดสมอง ทำให้มีเลือดออกมาคั่งและทำลายเนื้อสมองในบริเวณนั้น นอกจากนี้อาจกดเบียดสมองส่วนที่อยู่ใกล้เคียงทำให้สมองทำหน้าที่ไม่ได้ตามปกติ เกิดอาการอัมพฤกษ์หรืออัมพาต
Intracerebral Hemorrhage Charcot-Bouchard aneurysm Parent artery
ใคร ?คือผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง?
ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง • โรคความดันโลหิตสูง • โรคเบาหวาน • การสูบบุหรี่ • โรคหัวใจ • สูงอายุ • ไขมันในเลือดสูง • แอลกอฮอล์ • ขาดการออกกำลังกาย • นอนกรน (sleep apnea) • อ้วน
เปลี่ยนแปลงไม่ได้Non-modifiableAge, Gender, Race, Heredity Stroke Risk Factors เปลี่ยนแปลงได้Modifiable • Behaviors • Cigarette smoking • Alcohol abuse • Physical inactivity Medical Conditions • Hypertension • Cardiac disease • Atrial fibrillation • Dyslipidemia • Diabetes mellitus • Carotid stenosis • Prior TIA or stroke • Elevated homocysteine • Atherosclerosis of aorta Sacco RL, et al. Stroke 1997;28:1507-1517. Pancioli AM, et al. JAMA 1998;279:1288-1292.
Prevalence of Stroke by Age and Sex NHANES III: 1988-94 p16 Source: CDC/NCHS.
สาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน 1. หลอดเลือดแข็ง(Atherosclerosis) เกิดจากการเสื่อมของผนังหลอดเลือด มีไขมัน และหินปูนมาจับ พบได้ทั้งในหลอดเลือดสมองเอง และหลอดเลือดใหญ่ที่คอ มักพบในผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคความดันโลหิตสูง, โรคเบาหวาน, โรคไขมันในเลือดสูง หรือ สูบบุหรี่
สาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน
โรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน
สาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน 2.โรคหัวใจ ที่มีลิ่มเลือดหลุดไปอุดตันหลอดเลือดสมอง โรคลิ้นหัวใจผิดปกติ โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 3. หลอดเลือดสมองอักเสบ 4. โรคเลือดบางชนิด 5. การบาดเจ็บของหลอดเลือด
สาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองแตกสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองแตก 1. โรคความดันโลหิตสูง 2. หลอดเลือดสมองผิดปกติแต่กำเนิด
อาการของโรคหลอดเลือดสมองอาการของโรคหลอดเลือดสมอง รวดเร็วหรือทันทีทันใด!! เป็นมากขึ้นไม่เกิน1-7 วัน
การดำเนินโรค Days 0 1 2 3
การดำเนินโรค ความรุนแรง ระยะเวลา
Cerebral cortex Cerebellum Brainstem หน้า หลัง
กำลังกล้ามเนื้อด้านตรงข้ามกำลังกล้ามเนื้อด้านตรงข้าม ความรู้สึกด้านตรงข้าม ความจำ การมองเห็น การใช้ภาษา ความรู้สึกตัว หน้า หลัง สมองแต่ละส่วนมีหน้าที่ต่างๆกัน
หน้า หลัง สมองจะทำงานได้ต้องมีอาหาร (เลือด)มาเลี้ยง
อาการของโรคหลอดเลือดสมองอาการของโรคหลอดเลือดสมอง • รวดเร็วหรือทันทีทันใด!! • อ่อนแรงของร่างกายครึ่งซีก • ชาครึ่งซีก • เวียนศีรษะ ร่วมกับเดินเซ • ตามัว หรือ มองเห็นภาพซ้อน • พูดไม่ชัด ลิ้นแข็ง • ปวดศีรษะ อาเจียน • ซึม ไม่รู้สึกตัว
เมื่อเกิดอาการของโรค….เมื่อเกิดอาการของโรค…. • 15-20% เสียชีวิต • 20-30%มีความพิการขั้นรุนแรง • 50% มีความพิการเล็กน้อยหรือหายเป็นปกติ
การดำเนินโรค ความรุนแรง สมองเสื่อม ระยะเวลา
จะป้องกันการเกิดโรคได้อย่างไร ? • การควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆ • รับประทานยาตามคำแนะนำของแพทย์
เมื่อเกิดอาการของโรคหลอดเลือดสมองควรทำอย่างไร ? รีบไปพบแพทย์ทันทีอย่ามัวรอดูอาการ
การตรวจวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมองการตรวจวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง 1. ประวัติ ตรวจร่างกาย 2. ตรวจเพิ่มเติมเพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยง โลหิต: CBC, Cholesterol, น้ำตาล ... คลื่นไฟฟ้าหัวใจ(EKG) เอ็กซเรย์หัวใจ และ ปอด Echocardiogram 3. ตรวจสมอง & หลอดเลือด
การตรวจวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมองการตรวจวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง การตรวจสมอง & หลอดเลือด 1. เอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) 2. การตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI, MRA) 3. การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง(Ultrasound) 4. การตรวจด้วยการฉีดสีเข้าหลอดเลือด
เอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan)Computed Tomography Angiography • ใช้ตรวจในผู้ป่วยระยะเฉียบพลันทุกราย • ช่วยแยกระหว่างหลอดเลือดสมองตีบและแตก
การตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)Magnetic Resonance Imaging • สนามแม่เหล็กพลังงานสูง • ตรวจได้ละเอียดและแม่นยำกว่า CT Scan • สามารถเห็นหลอดเลือดใหญ่ที่คอและในสมองได้โดยไม่ต้องฉีดสี • ไม่สามารถใช้กับผู้ที่มี Pacemaker, คลิปในสมอง • ใช้ระยะเวลาในการตรวจ 45-90 นาที
การตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRA)Magnetic Resonance Angiography