1.01k likes | 1.22k Views
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จังหวัดพัทลุง. 15 กุมภาพันธ์. ประเด็นนำเสนอ. ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
E N D
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จังหวัดพัทลุง 15 กุมภาพันธ์
ประเด็นนำเสนอ • ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • แบบฟอร์มการจัดทำคำรับรอง การปฏิบัติราชการ • กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการ
1. ที่มาของการประเมินผล การปฏิบัติราชการ
1. ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 • แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) • พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
2. ขั้นตอนการประเมินผล การปฏิบัติราชการ
2. ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ก.พ. 49 มี.ค. 49 1 1 3 3 2 2 4 4 กรณีส่วนราชการขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัด ขอให้จัดทำเป็นหนังสือการอุทธรณ์ส่งให้คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราขภัฎยะลา ภายใน 31 มี.ค. 49 และคณะกรรมการและสำนักงานจังหวัด จะพิจารณาเรื่องอุทธรณ์ ณ สิ้นปีงบประมาณ การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ ชี้แจงกรอบการประเมินผลตามคำรับรองฯ 15 เจรจาตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนตามคำรับรองฯ 15 ก.พ – 15 มี.ค ผู้ว่าราชการจังหวัดและรองผู้ว่าที่กำกับดูแลส่วนราชการ ลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด 15 - 28 คณะวิทยาการจัดการ ส่งผลการวิเคราะห์รายละเอียดตัวชี้วัดให้ส่วนราชการทราบ 1 – 15 หมดเขตรับเรื่องการอุทธรณ์ของส่วนราชการ 31
2. ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ส.ค. 49 พ.ย. 49 ต.ค. 49 ก.ค. 49 พ.ค. 49 เม.ย. 49 มิ.ย. 49 ก.ย. 49 15 1 1 1 1 1 1 1 1 3 3 3 3 3 3 3 3 2 2 2 2 2 2 2 2 4 4 4 4 4 4 4 4 15- 30 เม.ย การติดตามความก้าวหน้า และการประเมินผลฯ 15 ส่วนราชการจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report)รอบ 6 เดือน(1 ต.ค. 48-31 มี.ค. 49) คณะวิทยาการจัดการติดตามความก้าวหน้าการปฏิบัติราชการฯ(เฉพาะส่วนราชการที่ไม่เข้าใจ) ส่วนราชการรายงานการประเมินตนเอง รอบ 9 เดือน (1 ต.ค. 48-30 มิ.ย. 49) ส่งให้สำนักงานจังหวัดพัทลุง 15 คณะวิทยาการจัดการติดตามความก้าวหน้าการปฏิบัติราชการ ทุกส่วนราชการ ครั้งที่1 ส.ค. – ก.ย. 49 ส่วนราชการ จัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report)รอบ12 เดือน 31 คณะวิทยาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา ติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการฯ ในพื้นที่จังหวัด ครั้งที่ 2 (Site visit II : Post-Evaluation) พ.ย. 49
3. กรอบการประเมินผล การปฏิบัติราชการ จังหวัดพัทลุง
4. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ แสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมายของแผนปฏิบัติราชการตามทีได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิด ประโยชน์สุขต่อประชาชน มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ แสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการบริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจ แก่ผู้รับบริการ มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ แสดงความสามารถในการปฏิบัติ ราชการ เช่น การลดรอบระยะเวลา การให้บริการ การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน เป็นต้น มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร แสดงความสามารถในการบริหาร การเปลี่ยนแปลงขององค์กรและการพัฒนาบุคลากร เพื่อสร้างความพร้อมในการสนับสนุนแผนปฏิบัติราชการ
4. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 50) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 30) การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การลดระยะเวลา การให้บริการ คุณภาพการให้บริการ การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม การป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ ผลสำเร็จตาม ยุทธศาสตร์ที่ทำคำรับรองกับรองนายกรัฐมนตรี ผลสำเร็จตาม แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของส่วนราชการ ผลสำเร็จตาม แผนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารการปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร การบริหารจัดการองค์กร
4. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
4. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
4. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
4. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
4. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
5. รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ
มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ
มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ
มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ
มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : คุณภาพการให้บริการ
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ +/- 1 ประเด็นการประเมินผล : คุณภาพการให้บริการ ประเด็นข้อสังเกตของผู้ประเมินอิสระ จะนำมาใช้ประกอบการพิจารณาปรับคะแนน
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ประเด็นการประเมินผล : การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม สำรวจงานบริการทั้งหมดภายในจังหวัดเพื่อคัดเลือกงานบริการ สำหรับจัดทำแผนการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม โดยสำรวจจากความต้องการ ของประชาชนผู้ใช้บริการ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้องว่าต้องการให้มีงานบริการใด อยู่รวมกันเพื่อให้บริการ ณ ศูนย์บริการร่วม ระดับคะแนน 1
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม จัดทำแผนสำหรับการจัดตั้งศูนย์บริการร่วมให้แล้วเสร็จ ภายในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2549 ระดับคะแนน 2
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม มีความคืบหน้าในการดำเนินการจัดตั้งศูนย์บริการร่วม ตามแผนงานและขั้นตอนที่กำหนดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ระดับคะแนน 3
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม ศูนย์บริการร่วมจำนวนอย่างน้อย 1 แห่ง สามารถเปิดดำเนินการได้ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ระดับคะแนน 4
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม จัดทำรายงานประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผน และผลสำเร็จโดยรวมของการดำเนินงานของศูนย์บริการร่วม พร้อมทั้งรายงานข้อมูลที่ได้จากประชาชนผู้ใช้บริการ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น จำนวนผู้ใช้บริการ ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ผลการสำรวจความพึงพอใจ* เป็นต้น *หมายเหตุ : ให้ส่วนราชการจัดเก็บข้อมูลผลการสำรวจความพึงพอใจ ณ จุดที่ให้บริการ ระดับคะแนน 5
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การมีส่วนร่วมของประชาชน
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การมีส่วนร่วมของประชาชน
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ประเด็นการประเมินผล : การมีส่วนร่วมของประชาชน ทั้งนี้ การวัดความสำเร็จของส่วนราชการในระยะแรกนี้ สามารถนับได้จากระดับความสำเร็จ ระดับที่ 1-5 ของการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมว่าระบบต่าง ๆ แต่ละขั้นตอน มีครบตามที่กำหนดหรือไม่และจำเป็นต้องพิสูจน์ถึงคุณภาพของ การดำเนินงานแต่ละขั้นตอนด้วย การกำหนดตัวชี้วัดนี้เป็นการกำหนดการวัดในปีแรก ๆ เท่านั้น เนื่องจากยังไม่เคยมีการวัดระดับความสำเร็จด้านนี้มาก่อน ในปีต่อ ๆ ไปจำเป็นต้องปรับปรุงแนวทาง การวัดให้สมบูรณ์มากขึ้น
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การมีส่วนร่วมของประชาชน จังหวัดมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างโปร่งใส โดยช่องทางต่างๆ ต่อไปนี้ อย่างน้อย 5 ช่องทาง ได้แก่ เอกสารสิ่งพิมพ์ แผ่นพับ จดหมายข่าว แผนผังขั้นตอนการปฏิบัติงาน ติดประกาศต่างๆ เว็บไซต์ การจัดทำ Spot โฆษณา การจัดทำโลโก้ การจัดนิทรรศการการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (press release) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อโทรทัศน์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อวิทยุ การจัดงานแถลงข่าว (press conference) การจัดทำสื่อเผยแพร่ (bill board) ระดับคะแนน 1
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การมีส่วนร่วมของประชาชน จังหวัดมีระบบการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างน้อย 3 ช่องทาง ต่อไปนี้ ได้แก่ การจัดให้มีตู้รับข้อคิดเห็นการจัดให้มีสายด่วน การจัดให้มีตู้ไปรษณีย์รับเรื่องจากประชาชน การสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชาชน การจัดสัมมนาวิชาการต่างๆ การจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (Focus Group) การจัดให้มีศูนย์ข้อมูล / ห้องสมุด จัดทำเว็บไซต์ซึ่งมีช่องทางสื่อสารกับประชาชน (Chat room หรือ Web board) ระดับคะแนน 2
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การมีส่วนร่วมของประชาชน ส่วนราชการมีการนำความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน โดยมีระบบการนำความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบและมีการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม ระดับคะแนน 3
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การมีส่วนร่วมของประชาชน ส่วนราชการมีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน (เป็นทางการและไม่เป็นทางการ) โดยมีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่องและชัดเจน เช่น มีการจัดประชุมร่วมกันอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง เป็นต้น ระดับคะแนน 4
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การมีส่วนร่วมของประชาชน มีกระบวนการ / กลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชน ระดับคะแนน 5
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ประเด็นการประเมินผล : การการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีการทบทวนผลการดำเนินงานตามมาตรการ/แผนปฏิบัติการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบที่ได้ดำเนินการ ตามปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงต่างๆ ที่ก่อให้เกิด การทุจริตและประพฤติมิชอบในการปฏิบัติราชการ และสรุปข้อมูลที่ได้ จากระบบการรับฟังข้อร้องเรียน ระดับคะแนน 1
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ • นำผลการทบทวนผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 ผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงฯ ผลสรุปจากระบบการรับฟังข้อร้องเรียนมาใช้ประกอบการจัดทำมาตรการ/แผนปฏิบัติการฯ ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ให้แล้วเสร็จ ทั้งนี้ ในการจัดทำมาตรการ/แผนปฏิบัติการฯ ต้องคำนึงถึงระดับความรุนแรง และโอกาสของความเสี่ยงที่จะเกิดการทุจริตและประพฤติมิชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นด้วย ระดับคะแนน 2
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ • ในมาตรการ/แผนปฏิบัติการฯ มีการระบุการดำเนินงานเชิงรุกในการสนับสนุน ให้ภาคประชาชนและเจ้าหน้าที่ของรัฐมีส่วนร่วมในการป้องกันการทุจริต อย่างจริงจัง โดยต้องกำหนดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภาคประชาชนและภาครัฐ ดังนี้ ระดับคะแนน 2
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีการดำเนินการตามมาตรการ/แผนปฏิบัติการฯ ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ได้แล้วเสร็จครบถ้วน ระดับคะแนน 3
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีการตอบสนองต่อข้อร้องเรียนเรื่อง “การทุจริตและประพฤติมิชอบ”ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 ซึ่งปรากฏตามรายงานของสำนักงาน ป.ป.ช. ศูนย์ดำรงธรรม กระทรวงมหาดไทย และจากระบบรับฟังข้อร้องเรียน ของจังหวัดได้อย่างครบถ้วน ระดับคะแนน 4
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามมาตรการ/แผนปฏิบัติการฯ ของจังหวัด โดยระบุปัจจัยสนับสนุน ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานและสรุปผล การตอบสนองต่อข้อร้องเรียนเรื่อง “การทุจริตและประพฤติมิชอบ” ในขั้นตอนที่ 4 พร้อมทั้งกำหนดแนวทางการปรับปรุงมาตรการ/แผนปฏิบัติการการป้องกัน และปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบสำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ระดับคะแนน 5
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ประเด็นการประเมินผล : การการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ประเด็นการประเมินผล : การการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ จัดทำข้อมูลด้านการทุจริตตามรูปแบบ รายการ และวิธีการ ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) กำหนด และมีการปรับปรุงสถานะของผลการดำเนินงาน ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ระดับคะแนน 1