510 likes | 659 Views
โรคอ้วนและการออกกำลังกาย. Sitha Phongphibool, M.S., ES, H/FI ACSM Clinical Exercise Physiologist/Specialist. Human Evolution. Why?. Obesogenic Environment. อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดโรดอ้วน. ปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะอ้วน. พัธุกรรม. โรค. สิ่งแวดล้อม. Obese. อาหาร. สังคม.
E N D
โรคอ้วนและการออกกำลังกายโรคอ้วนและการออกกำลังกาย Sitha Phongphibool, M.S., ES, H/FI ACSM Clinical Exercise Physiologist/Specialist
Human Evolution Why?
Obesogenic Environment • อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดโรดอ้วน
ปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะอ้วนปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะอ้วน พัธุกรรม โรค สิ่งแวดล้อม Obese อาหาร สังคม กิจกรรมทางกาย
พฤติกรรมต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดโรค
Defining terms • Overweight • Over fat • Obesity
ปัจจุบันคนอ้วนและคนที่น้ำหนักตัวเกินมีเพิ่มมากขึ้นปัจจุบันคนอ้วนและคนที่น้ำหนักตัวเกินมีเพิ่มมากขึ้น • ในปี 2008 ประชากรที่มีอายุมากกว่า 20 ปี จำนวน 1.4 ล้านคนทั่วโลกมีภาวะน้ำหนักตัวเกิน • คาดว่าในปี ค.ศ. 2015 จะมีคนที่น้ำหนักตัวเกิน 2.3 พันล้านคน และเป็นโรคอ้วน 300 ล้านคน • Obesity ถือว่าเป็นความเสี่ยงต่อโรคที่ไม่ติดต่อ • เสี่ยงต่อ โรค CAD 1-2 เท่า • ผู้ที่เป็นโรคอ้วนมีค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงกว่าคนที่ไม่อ้วน • >36% สำหรับผู้ป่วยในและนอก • >77% สำหรับค่ายา โรคอ้วน (Obesity)
Facts • ร้อยละ 70 ของผู้ที่เป็นโรคอ้วนเริ่มอ้วนเมื่ออายุมากกว่า 20 ปี • ร้อยละ 17 - ร้อยละ 19 ของเด็กที่อ้วนจะเป็นโรคอ้วนเมื่อบรรลุนิติภาวะแล้ว • โดยเฉลี่ย น้ำหนักของตัวเราจะเพิ่มขึ้นประมาณ 0.7 กิโล เมื่ออายุมากกว่า 25 ปี เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของระดับกิจกรรมทางกายและการบริโภค • น้ำหนักตัวที่เพิ่มมากขึ้นมากกว่าร้อยละ 20 จากน้ำหนักที่เหมาะสม จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรค • โรคอ้วนจะส่งผลให้อายุสั้น
Risks • CAD • Diabetes • Hypertension • Stroke • Decline in Physical Health
Exercise สำคัญอย่างไร • Health benefits • VO2 max • Body fat • Blood sugar • Lipid • Blood pressure • Body weight • Other
Exercise & Body Weight • Weight maintenance • Weight reduction • Exercise favors weight maintenance • งานวิจัยของ Hagan เกี่ยวกับการลดน้ำหนักพบว่า • 7.5 kg (diet + exercise) • 5.9 kg (diet) • 0.2 kg (exercise)
Change in Body Composition Evans et. al. 1999.
Wing (2002) พบว่า การออกกำลังกายที่น้อยกว่า 6 เดือน • มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักน้อยมากเมื่อเทียบกับการคุมอาหาร
Energy Expenditure 3 components : • BMR (60-70%) • Thermic effect of food (10%) • Physical activity (20-30%) (สำคัญมาก)
Schoeller et. al. (1997) : • 80 min of moderate or • 35 min of vigorous จะช่วยให้น้ำหนักลดได้ดีในระยะยาว
Jakicic (1999) also showed that > 280 min/wk over 18 months greater weight maintenance. (~ 40 min/day)
What is the recommendation? • 30 : 60 • 30 นาทีเป็นการเริ่มต้น • 60 นาทีหรือมากกว่าเป็นการส่งเสริม ให้น้ำหนักลดและคงที่
What is the recommendation? • Moderate or Vigorous • 4.0-5.9 METs (Moderate) • > 6 METs (Vigorous) Lower incident of heart disease in those who exercise at vigorous level อย่างไรก็ดีการออกกำลังกายในระดับที่หนักอาจเสี่ยงต่อภาวะฉุกเฉิน
Williams, P. T. Physical fitness and activity as separate heart disease risk factors: A meta-analysis. Medicine & Science in Sports & Exercise. 33: 754-761, 2001.
Vigorous Exercise • ข้อดี • เพิ่มlสมรรถภาพทางกาย (Fitness) • ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคที่ไม่ติดต่อต่าง ๆ • ข้อเสีย • เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะฉุกเฉิน • ทำให้ไม่อยากออกกำลังกาย
Evaluation • Reason for referral • Demographics (age, gender, ethnicity) • History of illness • Current medications • Allergies • Past medical history • Family history • Social history • Physical exam • Dietary recall
Obesity • Pre-exercise assessment • Body composition • Fat mass vs fat free mass • Functional capacity • Balance • Agility
Skinfold • 3 Sites (ชาย) • Chest • Abdomen • Thigh • 9 sites: • Abdominal • Triceps • Biceps • Chest/Pectoral • Medial Calf • Midaxillary • Subscapular • Suprailliac • Thigh • 3 Sites (หญิง) • Triceps • Suprailliac • Thigh
Body Fat Assessment • Formula • Measuring tape (Measurement) • Skinfold • BMI • BIA • Air displacement
Fitness Assessment • Aerobic capacity • Cycle max • Submax cycle test • HR inflection point • 6 min walk
Fitness Assessment • Sit to Stand (30 sec) • 8 foot get up and go (agility) • Flexibility • Balance
Obesity • รูปแบบของการออกกำลังกาย • Continuous หรือ intermittent • ถ้าเป็นไปได้ควรเป็น continuous exercise • แรงกระัแทกต่ำ • ความหนักไม่ปรับเปลี่ยนตลอดเวลา • ปรับรูปแบบตามความเหมาะสม
Obesity • ความหนักในการออกกำลังกาย • ต้องการเพิ่ม endurance, aerobic capacity, and strength • 40% - 75% HRR or VO2R • เริ่ม light intensity • เบา สลับ ปานกลาง • ต้องการให้หัวใจแข็งแรง
Obesity • ความถี่ในการออกกำลังกาย • 2 – 3 วันเริ่มต้น • ประมาณ 5 วันถ้าเป็นไปได้ • >280 นาที/สัปดาห์ (40 นาทีต่อวัน) • สามารถช่วยป้องกันน้ำหนักตัวไม่ให้ขึ้น
Obesity • ระยะเวลาในการออกกำลังกาย • 30 นาที หรือ 60 นาที • เริ่ม 30 นาที • เพิ่มให้เหมาะสมแต้ละบุคคล • >60 นาทีถ้าเป็นไปได้แต่ควรเป็นรูปแบบสะสม • >250 นาทีต่อสัปดาห์
Resistance training • All major muscle groups • เน้นกลุ่มที่ใช้ประจำในชีวิตประจำวัน • บริหารในท่านั้งหรือนอน • 3 – 4 sets/ 10 – 15 repetitions • Body weight, resistance band, weights equipment
ข้อควรระวัง • ไม่หักโหม • ทำสะสมและเพิ่มกิจกรรมทางกาย • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางกายและการบริโภค • ระวังการบาดเจ็บ • ไม่ออกกำลังกายในที่ที่ร้อนจัดหรือตากแดด
พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง • ตั้งเป้าหมาย • จดบันทึก • เลือกบริโภค • ขยับร่างกาย • สร้างแรงจูงใจ • ทำให้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต