1.68k likes | 4k Views
โรคทางจิตเวชในเด็ก. พญ . รัตนา กาสุ ริย์ กุมารแพทย์ โรงพยาบาลวานรนิวาส. โรคและปัญหาทางจิตเวชเด็ก. ปัญหาพัฒนาการและการเรียนรู้ ปัญหาทางอารมณ์ ปัญหาพฤติกรรม ปัญหาด้านความสัมพันธ์. โรคทางจิตเวชเด็ก เช่น. ออทิสติก ( Autism ) สติปัญญาบกพร่อง ( Intellectual disability )
E N D
โรคทางจิตเวชในเด็ก พญ.รัตนา กาสุริย์ กุมารแพทย์ โรงพยาบาลวานรนิวาส
โรคและปัญหาทางจิตเวชเด็กโรคและปัญหาทางจิตเวชเด็ก • ปัญหาพัฒนาการและการเรียนรู้ • ปัญหาทางอารมณ์ • ปัญหาพฤติกรรม • ปัญหาด้านความสัมพันธ์
โรคทางจิตเวชเด็ก เช่น • ออทิสติก (Autism) • สติปัญญาบกพร่อง (Intellectualdisability) • ซนสมาธิสั้น (ADHD) • ทักษะการเรียนบกพร่อง (LD) • เด็กเกเรก้าวร้าว (Conductdisorder) • โรคซึมเศร้า (Depression) • กลัวการแยกจาก (SeparationAnxietyDisorder)
ปัญหาสุขภาพจิตเด็ก เช่น • ถูกเพื่อนรังแก (Bully) • ขาดความมั่นใจในตนเอง • ดื้อ เอาแต่ใจ • ครอบครัวหย่าร้าง • พี่อิจฉาน้อง (Sibling rivalry) • การเลี้ยงดูไม่เหมาะสม
Pervasive Developmental Disorder • อาการหลัก • ภาษาล่าช้า • พูดช้า • ภาษาพูดแปลกๆ (Neologism) • พูดทวนคำ (Echolalia) • พูดโต้ตอบช้ากว่าวัย • เล่นสมมุติช้ากว่าวัย • พูดแต่เรื่องที่ตนเองสนใจ
Pervasive Developmental Disorder • อาการหลัก • มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นน้อย/ผิดปกติ • ไม่สบตา,สบตาช่วงสั้นๆ • เริ่มต้นสนทนาไม่เป็น • ไม่สนใจผู้อื่น • เข้ากับเพื่อนไม่ได้
Pervasive Developmental Disorder • อาการหลัก • มีพฤติกรรมหรือความสนใจซ้ำๆ/เปลี่ยนแปลงได้ยาก • กระตุ้นตัวเองซ้ำๆ • ติดของที่ไม่ควรติด,เล่นของที่ไม่ควรเล่น • หมกมุ่นเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นพิเศษ • ทำกิจกรรมเดิมซ้ำๆ เปลี่ยนไม่ได้
Pervasive Developmental Disorder • Autistic Disorder • บกพร่องทั้ง 3 ด้าน • Asperger’s Disorder • ภาษาปกติ ทักษะสังคมบกพร่อง หมกมุ่นบางเรื่องเป็นพิเศษ • Pervasive Developmental Disorder Not otherwise Specified (PDD NOS) • มีบางอาการของ Autism แต่ไม่ครบข้อบ่งชี้
PDD วินิจฉัยอย่างไร • คัดกรอง • PDDSQ • แบบคัดกรองโรคออทิสติกในเด็กอายุ 1-5 • KUS-SI • ประเมินพัฒนาการ,สติปัญญา • วินิจฉัย • ADOS
PDDSQ • แบบคัดกรองนี้สร้างขึ้นเพื่อค้นหาเด็กที่มีความผิดปกติทางพัฒนาการในกลุ่มโรค PDDS อายุ 1-18 ปี โดยผู้ปกครองหรือผู้ใกล้ชิดเด็กเป็นผู้ประเมิน • แบบคัดกรอง PDDS พัฒนาจากแบบคัดกรองโรคออทิสซึม และโรคอื่นๆ ในกลุ่ม PDD ได้แก่ แบบคัดกรอง CHAT, CARS, ASQ, ASSQ, PDDST และ SRS • แบบคัดกรองแบ่งเป็น 2 ช่วงอายุ ดังนี้ PDDSQ 1-4 ปี ใช้คัดกรองเด็กอายุ 12-47 เดือน และ PDDSQ 4-18 ปี แต่ละฉบับประกอบด้วยข้อคัดกรอง 40 ข้อ ซึ่งข้อคำถามเหล่านี้ชี้วัดความผิดปกติ 3 ด้าน คือ พัฒนาการทางสังคมผิดปกติพัฒนาการด้านสื่อความหมายผิดปกติ และพฤติกรรมซ้ำซาก สนใจจำกัด และปรับตัวยาก
PDDSQ • 1. เป็นแบบคัดกรองที่ผู้ตอบสามารถอ่าน และตอบด้วยตนเอง โดยเลือกคำตอบที่ใกล้เคียงพฤติกรรมของเด็กมากที่สุด • 2. คำตอบมี 2 ตัวเลือก คือ ใช่/ทำบ่อยๆ และ ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ • 3. การให้คำแนะนำ: ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ • 4. PDDSQ 1-4 ข้อ 1-5, 11-15, 21-25, 31-35 และ PDDSQ 4-18 ปี ข้อ 1 , 3, 4, 10, 14, 15, 20, 30, 33, 36 ต้องกลับค่าคะแนนดังนี้ ให้ 0 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ใช่/ทำบ่อยๆ ให้ 1 คะแนน สำหรับคำตอบว่า ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ • 5. คะแนนเต็มทั้งฉบับ 40 คะแนน
PDDSQ • การแปลผล • PPDSQ 1-4 ปี ถ้าได้ 13 คะแนนขึ้นไป ถือว่า เสี่ยงที่จะเป็น PDDs. • PPDSQ 4-18 ปี ถ้าได้ 18 คะแนนขึ้นไป ถือว่า เสี่ยงที่จะเป็น PDDs.
แบบคัดกรองโรคออทิสติกในเด็กอายุ 1-5 ปี • เป็นแบบคัดกรองที่พัฒนาจาก PDDSQ 1-4 ปี ,เกณฑ์การวินิจฉัยโรคตาม DSM-IV-TR และความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญที่ทำงานเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยและบำบัดรักษาเด็กออทิสติก ปรับลดหัวข้อคำถามให้เหลือเพียง 10 ข้อ • มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาเพื่อนำไปใช้ในหน่วยบริการปฐมภูมิเพื่อใช้คลินิกเด็กสุขภาพดี (well child clinic) • แบบคัดกรองประกอบด้วยหัวข้อคำถามเพียง 10 ข้อ ที่เป็นพฤติกรรมในชีวิตประจำวันของเด็ก ให้ผู้ปกครองเลือกตอบ ใช่/ทำบ่อย กับ ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ ตามพฤติกรรมที่เด็กแสดงออก
แบบคัดกรองโรคออทิสติกในเด็กอายุ 1-5 ปี • วิธีการใช้เครื่องมือ • ให้ผู้ปกครองเลือกตอบ ใช่/ทำบ่อย หรือ ไม่ใช่/ไม่ค่อยทำ ให้ตรงตามพฤติกรรมของเด็กที่แสดงให้มากที่สุด • ให้ผู้ปกครองตอบให้ครบทุกหัวข้อคำถาม • เกณฑ์การให้คะแนน • แบบทดสอบชุดนี้มีคะแนนเต็ม 10 คะแนน ให้คะแนน 1 คะแนนในหัวข้อคำถามที่ตอบ ใช่/ทำบ่อย • คะแนนจุดตัด (cut-point) เท่ากับ 5 คะแนน หมายความว่าเมื่อรวมคะแนนแบบทดสอบทั้งฉบับแล้วพบว่าได้คะแนนตั้งแต่ 13 คะแนนขึ้นไป แสดงว่ามีความเสี่ยงที่จะเป็นออทิสติก (Autistic disorder)
การช่วยเหลือเด็กออทิสติกการช่วยเหลือเด็กออทิสติก เป้าหมายสำคัญ “ช่วยให้เด็กมีชีวิตเหมือนเด็กปกติให้มากที่สุด”
(ครอบครัว)พ่อ/แม่ ครู (การศึกษา) หมอ (สาธารณสุข)
การช่วยเหลือเด็กออทิสติก ประกอบด้วย • การกระตุ้นพัฒนาการ • ด้านภาษา • ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น • การช่วยเหลือตนเอง • แก้ไขพฤติกรรมที่เป็นปัญหา • การเข้าสังคม
ยาที่นิยมใช้ในเด็กออทิสติกยาที่นิยมใช้ในเด็กออทิสติก • กลุ่ม Antipsychotic • ซน,อยู่ไม่นิ่ง (ในเด็กเล็ก) • หงุดหงิด,ฉุนเฉียว • พฤติกรรมซ้ำๆ • ยาที่นิยมใช้: Haloperidol,Risperidone, Thioridazine
ยาที่นิยมใช้ในเด็กออทิสติกยาที่นิยมใช้ในเด็กออทิสติก • Psychostimulant • สำหรับเด็กที่มีอาการ ซน,อยู่ไม่นิ่ง • ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี • Anticonvulsant • รักษาอาการชัก,และอาการก้าวร้าว • ยาที่ใช้บ่อย Na Valproate, Carbamazepine
Prognosis • IQ > 70 • พูดได้ก่อน 5 ขวบ • ไม่เป็นโรคลมชัก
การเข้าสังคม • การเข้าโรงเรียน • การเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชนได้
เด็กจะเข้าโรงเรียนได้ต่อเมื่อเด็กจะเข้าโรงเรียนได้ต่อเมื่อ • สามารถทำตามคำสั่งได้ • ช่วยเหลือตนเองได้ • ไม่มีปัญหาพฤติกรรมที่รุนแรง
โรคซน/สมาธิสั้น • โรคซนสมาธิสั้นประกอบด้วยกลุ่มอาการหลัก 3 กลุ่ม ได้แก่ • กลุ่มอาการขาดสมาธิ (Attention Deficit) • กลุ่มอาการซน อยู่ไม่นิ่ง (Hyperactivity) • กลุ่มอาการวู่วาม หุนหันพลันแล่น (Impulsivity) • เกิดอาการก่อนอายุ 7 ปี • มีอาการอย่างน้อย 2 ที่ • พบได้ประมาณ 5% ของเด็กวัยเรียน
โรคซน/สมาธิสั้น • สาเหตุ • Prefrontal Cortex • การจัดระเบียบ • การวางแผน • สมาธิ • Dorsal anterior cingulate cortex • การหยุดตัวเอง • Basal Ganglia • การเคลื่อนไหว • การเรียนรู้ ความจำ • การหยุดตัวเอง
โรคซน/สมาธิสั้น • สาเหตุ • Dopamine availability • Noradrenergic function
อาการของโรคซน/สมาธิสั้นอาการของโรคซน/สมาธิสั้น • กลุ่มอาการขาดสมาธิ (Attention Deficit) • วอกแวกง่าย • เบื่อง่าย เปลี่ยนความสนใจบ่อย • เหม่อลอย ฝันกลางวัน • ขี้ลืม ทำของหายบ่อย • จัดลำดับความสำคัญไม่เป็น • เฉื่อยชา ผลัดวันประกันพรุ่ง • ทำงานไม่เสร็จ ไม่เรียบร้อย
อาการของโรคซน/สมาธิสั้นอาการของโรคซน/สมาธิสั้น • กลุ่มอาการซน อยู่ไม่นิ่ง (Hyperactivity) • ซน อยู่ไม่นิ่ง ยุกยิก ขยับตัวตลอดเวลา • ชอบปีนป่าย เล่นผาดโผน • เล่นเสียงดัง • พูดมาก พูดไม่หยุด
อาการของโรคซน/สมาธิสั้นอาการของโรคซน/สมาธิสั้น • กลุ่มอาการวู่วาม หุนหันพลันแล่น (Impulsivity) • ใจร้อน รอคอยอะไรได้ไม่นาน • ชอบพูดโพล่ง พูดแทรก • ทำอะไรโดยไม่ขออนุญาต • ไม่มีความระมัดระวัง • ไม่สามารถเรียนรู้จากความผิดพลาดได้ • ทำงานลวกๆไม่ตรวจทาน
การวินิจฉัย • คัดกรอง • KUS-SI • Corner Teacher,Parent Rating Scale • SNAP-IV • ซักประวัติ ตรวจร่างกาย • ประวัติจากพ่อแม่ • ประวัติจากโรงเรียน • สังเกตเด็กโดยตรง
แบบคัดกรองโรคซน/สมาธิสั้น SNAP- IV ฉบับภาษาไทย • คิดค้นโดย James.M.Swanson Ph.D. และคณะ • แปลงเป็นฉบับ ภาษาไทย โดย นพ.ณัธร • พิทยรัตน์เสถียร และคณะ โดยมีค่าความเชื่อมั่น (internal consistency) เท่ากับ 0.927
แบบคัดกรองโรคซน/สมาธิสั้น SNAP- IV ฉบับภาษาไทย • มีจำนวนข้อทั้งหมด 26 ข้อ แบ่งเป็น • ด้านสมาธิ 9 ข้อ • ด้านซน อยู่ไม่นิ่ง/หุนหันพลันแล่น 9 ข้อ • ด้านดื้อ/ต่อต้าน 8 ข้อ
แบบคัดกรองโรคซน/สมาธิสั้น SNAP- IV ฉบับภาษาไทย • วิธีทดสอบ ผู้ประเมิน เลือกคำตอบที่ตรงกับตัวเด็กมากที่สุด โดยแบ่งเป็น • ไม่เลย = 0 คะแนน • เล็กน้อย = 1 คะแนน • ค่อนข้างมาก = 2 คะแนน • มาก = 3 คะแนน
แบบคัดกรองโรคซน/สมาธิสั้น SNAP- IV ฉบับภาษาไทย • การแปลผล รวมคะแนนในแต่ละด้าน แล้วหารด้วยจำนวนข้อ • เปรียบเทียบกับ คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน โดยแบ่งเป็น คะแนนเฉลี่ยของผู้ปกครองและของครู • หากคะแนนเฉลี่ยที่ได้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน ให้สงสัยว่าเด็กมีปัญหาในด้านนั้นๆ
สมาธิสั้นเทียม • ไม่มีสมาธิเป็นบางวิชาหรือบางกิจกรรม • อยู่นิ่งได้เมื่อทำกิจกรรมบางอย่าง หรือ อยู่กับบางคน • มีความรับผิดชอบ อดทนรอคอยได้ดี • ส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุอื่น เช่น • สติปัญญาบกพร่อง • LD • พ่อแม่ตามใจ
การรักษา โรคซน/สมาธิสั้น • การรักษา • การรักษาด้วยยา • การปรับพฤติกรรม • ที่บ้าน • ที่โรงเรียน
การรักษาด้วยยา • Psychostimulant • Methylphenidate Short acting (Ritalin,Rubifen) • Methylphenidate Long acting (CONCERTA) • Selective Norepinephrine Reuptake Inhibitor • Atomoxetine HCL (Strattera)
การรักษาด้วยยา • Antidepressants • Imipramine • Buproprion • Venlafaxine • Clonidine (Catapress) • Antipsychotics • Risperidone (Risperdal)