240 likes | 508 Views
ระบบสายส่งหนึ่งมี Z 0 = 50 ต่อกับโหลด Z L = 21 + j 25 . C = 0.084 WTG. B = 120 o. หาค่าโหลดมาตรฐาน z L = (21 + j 25)/50 = 0.42 + j 0.5. l max = 0.25 0.084. A. 1) หา V. V = 0.5120 o. 2) หา VSWR. E VSWR = 3. O. VSWR = 3. 3) หา l max และ l min. G = 1.0 j 1.15.
E N D
ระบบสายส่งหนึ่งมีZ0 = 50 ต่อกับโหลดZL =21 + j25 C = 0.084 WTG B = 120o หาค่าโหลดมาตรฐาน zL = (21 + j25)/50 = 0.42 + j 0.5 lmax = 0.25 0.084 A 1)หาV V= 0.5120o 2)หาVSWR E VSWR = 3 O VSWR = 3 3)หาlmaxและlmin G = 1.0 j1.15 lmax = 0.25 0.084 = 0.166 lmim = 0.5 0.084 = 0.416 lmim = 0.5 0.084 4)หาโหลดแอตมิตแตนซ์ yL= 1.0 j1.15 YL = 1.0 j1.15)/50 = 0.02 j0.023 S D = 0.5
M M d สายส่ง Z0= 50 สายส่ง Z0= 50 ZL YL+d YS M M โหลด สายส่งปลายปิด l การใช้แผนภาพสมิธเพื่อทำการแม็ทช์โหลดในระบบสายส่ง การแม็ทช์โหลดด้วยสตับเดี่ยว ตัวอย่างจงทำการแม็ทช์โหลดของระบบสายส่งมีอิมพีแดนซ์คุณลักษณะ50 ที่ต่อกับโหลดZL = 25 – j50 ด้วยสายส่งแบบเดียวกันที่มีปลายปิด หรือสตับโดยหาความยาวของสตับและตำแหน่งที่จะต่อสตับเส้นนี้เพื่อทำ ให้ระบบสายส่งนี้เกิดการแม็ทช์โดยแผนภาพสมิธ รูปที่8.9การแม็ทช์โหลดในระบบสายส่งด้วยสตับเดี่ยวและวงจรสมมูล
d M สายส่ง Z0= 50 YL โหลด M สายส่งปลายปิด l สมมุติให้สตับมีความยาวlต่อคร่อมสายส่งที่ระยะdจากโหลด เริ่มด้วยหาค่ามาตรฐานของโหลดอิมพีแดนซ์zL zL= ZL/Z0 = (25 – j50)/50 = 0.5 – j นำค่าzLมาเขียนลงบนแผนภาพสมิธได้จุดAแล้วแปลงzLให้เป็นyL อ่านค่าyL= 0.4+j0.8อยู่ที่ตำแหน่งสเกลWTG = 0.115 เปลี่ยนสเกลวงกลมบนแผนภาพสมิธเป็นสเกลวงกลมของแอ็ดมิตแตนซ์ เมื่อต่อสตับลงไปในระบบสายส่งที่จุดM-Mจะต้องทำให้ค่าy(M-M)1 = 1 + j0 (match) เนื่องจากสตับที่นำมาต่อมีเฉพาะค่าซัสเซ็ปแตนซ์ jbดังนั้นค่าแอ็ดมิตแตนซ์ที่ ระยะ dจึงควรมีค่าเป็น1 – ( jb)ซึ่งสอดคล้องกับวงกลมความนำg = 1 เมื่อพิจารณาค่าที่ตำแหน่งM-Mได้เป็นจุดตัดของวงกลมทั้งสองคือที่จุด CกับD ซึ่งมีค่าyd1 = 1 + j1.58
d M สายส่ง Z0= 50 YL โหลด M สายส่งปลายปิด l เมื่อมองจากแหล่งกำเนิดสัญญาณไปยังวงจรขนานพบว่า yM-M = yd1 + ys1 1 + j0 = 1 + j1.58 + ys1 ดังนั้น ys1 = –j1.58 จากนั้นใช้แผนภาพสมิธหาความยาวของสตับ โดยให้สตับมีค่าซัสเซ็ปแตนซ์เ–j1.58สตับเป็นสายส่งปลายปิดดังนั้นที่ปลายสายส่งจึงมีค่าzs= 0หรือys= ซึ่งอยู่ที่จุดE ถ้าต้องการให้ys1 = –j1.58จากแผนภาพสมิธอยู่ที่จุดFที่ WTG = 0.34 l1 = (0.34–0.25) = 0.09 ถ้าเลือกแม็ทช์โหลดด้วยจุดDพบว่าอยู่ที่ตำแหน่งบนสเกลWTG= 0.322 yd2 = 1 – j1.58 d2 = (0.322 – 0.115) = 0.207
d M สายส่ง Z0= 50 YL โหลด M สายส่งปลายปิด l เขียนวงกลมผ่านจุดA WTG = 0.115 WTG = 0.16 หมุนจุดAไป/4จะได้จุดB G พิจารณาที่จุดCอยู่ที่ตำแหน่ง0.178 WTG = 0.178 ระยะจุดBกับCจะมีค่าเป็น d1 = (0.178–0.115) = 0.063 B C ซึ่งมีค่าyd1= 1 + j1.58 ที่ WTG 0.25มีวงกลม =1 เป็นของสตับดังนั้น ความยาวของสตับก็คือ ระยะจากจุดEไปยังจุดF E D l2= [(0.16 + 0.5) – 0.25]= 0.41 A F WTG = 0.322 WTG = 0.34
/8 /4 M N สายส่ง Z0= 50 ZL M N โหลด l1 l2 สตับปลายปิด การแม็ทช์โหลดด้วยสตับคู่ ตัวอย่างจงทำการแม็ทช์โหลดของระบบสายส่งมีอิมพีแดนซ์คุณลักษณะ50 ต่อกับโหลดZL = 25 + j50 ด้วยสตับที่มีปลายปิดสองเส้นโดยสตับตัวแรกห่างจากโหลด/4และสตับตัวที่สองห่างจากตัวแรก/8จงหาความยาวl1กับl2ของสตับทั้ง สองเส้นที่ใช้แม็ทช์กับระบบสายส่งนี้โดยแผนภาพสมิธ รูปที่8.11การแม็ทช์โหลดด้วยสตับคู่
/8 /4 M N สายส่ง Z0= 50 ZL M N โหลด l1 l2 สตับปลายปิด zL = ZL/Z0 == (25 + j50)/50 = 0.5 + j WTG = 0.153 ที่จุดCได้ydNN = 0.5 + j0.14 ys1 = (0.5 + j0.14) – (0.5 + j1)= –j0.86 D A l1 = 0.387 – 0.25 = 0.137 WTG = 0.028 G ydMM = 1 + j0.73 WTG = 0.25 ys2 = (1 + j0) – (1 + j0.73)= –j0.73 C E l2 = 0.40 – 0.25 = 0.150 B H K WTG = 0.4 WTG = 0.387
รูปที่ 8.13 ตัวอย่างของสตับคู่ใช้ในทางปฏิบัติ
d M สายส่ง Z0= 50 สายส่ง Z0= 25 ZL M โหลด ปลายเปิด l ตัวอย่างจงทำการแม็ทช์โหลดของระบบสายส่งมีZ0 = 50 ต่อกับโหลดZL = 30 – j20 ด้วยสายส่งปลายเปิดหรือสตับอีกเส้นหนึ่งที่มี Z0 = 25 ตามรูปโดยหาความยาวของสตับและตำแหน่งที่จะต่อสตับเส้นนี้เพื่อทำให้ระบบสายส่งนี้เกิดการแม็ทช์โดยแผนภาพสมิธ WTG = 0.168 WTG = 0.056 j0.725 l j0.362 l yLs zL = (30 – j20)/50 = 0.6 – j0.4 d j0.725 WTG = 0.348
/8 /4 M N สายส่ง Z0= 50 ZL M N โหลด l1 l2 สตับปลายปิด zL = ZL/Z0 == (25 + j50)/50 = 0.5 + j WTG = 0.153 ที่จุดAได้ydNN = 0.5 + j0.14 ys1 = (0.5 + j0.14) – (0.5 + j1)= –j0.86 B l1 = 0.387 – 0.25 = 0.137 WTG = 0.028 E ydMM = 1 + j0.73 WTG = 0.25 ys2 = (1 + j0) – (1 + j0.73)= –j0.73 A C l2 = 0.40 – 0.25 = 0.150 G D WTG = 0.4 WTG = 0.387
8.9แผนภาพสะท้อนกลับสัญญาณและการกระชากบนสายส่ง8.9แผนภาพสะท้อนกลับสัญญาณและการกระชากบนสายส่ง กรณีวิเคราะห์สัญญาณชั่วขณะเมื่อมีการป้อนสัญญาณ dcโดยสวิทช์ ก) วงจรระบบสายส่งที่มีแหล่งจ่ายเป็นสัญญาณแบบขั้นข) สัญญาณที่โหลดซึ่งมีการหน่วงเวลาไป รูปที่ 8.14 วงจรระบบสายส่งที่มีโหลดแมทช์และการกระจายคลื่นที่หน่วงเวลาไป
IL = V1+/Z0 = V1+/RL สมการอยู่ในรูปอนุกรมกำลัง(Power series)สามารถเขียนแทนได้ด้วยรูปแบบ1/(1 – gL) เป็นค่าศักย์ไฟฟ้าที่โหลดเมื่ออยู่ในสภาวะคงตัว
ที่Rg 0คือg = (Rg – Z0)/(Rg + Z0) รูปที่8.15วงจรระบบสายส่งแบบทั่วไป t t 6l/v V3 = g2L3V1+ 21l/4v V3+ = g2L2V1+ 19l/4v 4l/v V2 = gL2V1+ 13l/4v V2+ = gLV1+ 11l/4v 2l/v V1 = LV1+ t 5l/4v 3l/4v z ข) ศักย์ไฟฟ้าขณะใดๆที่ระยะสายส่งยาว z = 3l/4 z = 0 z = l z = 3l/4 ก) แผนภาพการสะท้อนกลับศักย์ไฟฟ้า
สำหรับการหาค่ากระแสบนสายส่งสำหรับการหาค่ากระแสบนสายส่ง I– = – V –/Z0 I+ = V +/Z0 t t 6l/v I3 = V3/Z0 21l/4v 5l/v I3+ = V3+/Z0 I1+ + I1 + I2+ + I2 + I3+ I1+ + I1 + I2+ 19l/4v I3l/4 I1+ 4l/v I2 = V2/Z0 13l/4v 3l/v I2+ = V2+/Z0 11l/4v I1+ + I1 + I2+ + I2 + I3+ + I3 I1+ + I1 2l/v I1 = V1/Z0 I1+ + I1 + I2+ + I2 5l/4v l/v I1+ = V1+/Z0 3l/4v t = 0 t z z = 0 z = 3l/4 z = l ข) ผลรวมค่ากระแสที่ระยะสายส่งยาว z = 3l/4 ก) แผนภาพการสะท้อนของกระแส
ตัวอย่างที่ 8.7ในสายส่งแสดงดังรูปที่2 ให้ Rg = Z0 = 50 , RL = 25 ศักย์ไฟฟ้าที่ แหล่งจ่ายมีค่าเป็น 10 Vเมื่อสวิทช์ปิดที่เวลา t = 0จงคำนวณหาศักย์ไฟฟ้าที่ ความต้านทานโหลด และกระแสในแหล่งจ่ายเป็นฟังก์ชันของเวลา วิธีทำ ใช้แผนภาพการสะท้อนศักย์ไฟฟ้าและกระแสดังแสดงในรูปที่ 8.18 ก) และ 8.18ข) ขณะที่สวิทช์ปิดจะมีศักย์ไฟฟ้าตกคร่อมความต้านทานครึ่งหนึ่ง ส่วนอีกครึ่งหนึ่งเป็นศักย์ไฟฟ้าเริ่มต้นของคลื่น ดังนั้น V1+ = (1/2)V0 = 5 Vเมื่อคลื่นเดินทางมาถึงความต้านทานโหลด25 เป็นที่ซึ่งมีการสะท้อนด้วยค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อน ดังนั้น V1– = – (1/3)V1+ = –5/3 Vคลื่นนี้จะส่งกลับไปยังแหล่งจ่ายเป็นที่ซึ่งไม่มีสัมประสิทธิ์การสะท้อน g = 0 ดังนั้นจึงไม่มีคลื่นส่งกลับไปยังโหลดอีก การเข้าสู่สภาวะคงตัวก็มาถึงทันที
VL IB V1++ V1–= 5 – 5/3 10/3 I1++ I1–= 1/10+1/30 2/15 1/10 I1+= 1/10 t = l/v t t = l/v t = 2l/v t ก) แผนภาพการสะท้อนศักดา ข)แผนภาพการสะท้อนกระแส รูปที่ 8.18แผนภาพการสะท้อนศักย์ไฟฟ้าและกระแสจากตัวอย่าง ก) ศักย์ไฟฟ้าที่โหลดโดยแผนภาพสะท้อนศักดา ข)กระแสที่แหล่งจ่ายโดยแผนภาพสะท้อนกระแส รูปที่8.19 ศักดาที่โหลดและกระแสที่แหล่งจ่ายคำนวณโดยแผนภาพสะท้อนศักย์ไฟฟ้าและกระแส
ตารางที่7.1อิมพีแดนซ์บนระบบสายส่งสำหรับสายส่งทั่วไปกับสายส่งแบบไร้การสูญเสียพลังงานตารางที่7.1อิมพีแดนซ์บนระบบสายส่งสำหรับสายส่งทั่วไปกับสายส่งแบบไร้การสูญเสียพลังงาน
ระบบสายส่งไร้การสูญเสียพลังงานที่ความยาวn/2ได้ Z(z = n/2) = ZL ระบบสายส่งไร้การสูญเสียพลังงานที่ความยาว(2n–1)/4 สัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับบนระบบสายส่ง(Reflection coefficients)
|V(z)|= |V0+| [1 + |V|2 + 2|V| cos(2 z – )]1/2 loss = –10log[1 – |V|2] dB
zL(normalized load Impedance) = ZL/Z0 = z( 2l = 0) = rL + j0 จะเห็นได้ว่าศักย์ไฟฟ้าบนสายส่งจะมีค่าสูงสุดเมื่อ มุมในcos หรือargumentg(2z – ) = 0 และมีค่าต่ำสุดเมื่อมุมเป็น(2z – ) =
สำหรับท่านที่เรียนอย่างตั้งใจด้วยดีแล้วก็ขอให้ผลแห่งกรรมดีนั้นจงตอบสนองให้ทำข้อสอบได้เกรด Aทุกคนด้วยเทอญ