700 likes | 943 Views
Heart Connection Tour : DANCE4LIFE สัญจรรวมพลังเยาวชนเปลี่ยนโลก . Relax. เต้นเพื่อชีวิต . เมื่อฉันพูดว่า เต้นเพื่อ... เธอพูดว่า...ชีวิต... เต้นเพื่อ...ชีวิต... เต้นเพื่อ...ชีวิต. When I say dance 4 … You say LIFE… dance 4 … LIFE… dance 4 … LIFE. เต้นเพื่อชีวิต .
E N D
Heart Connection Tour : DANCE4LIFE สัญจรรวมพลังเยาวชนเปลี่ยนโลก Relax
เมื่อฉันพูดว่า เต้นเพื่อ... เธอพูดว่า...ชีวิต... เต้นเพื่อ...ชีวิต... เต้นเพื่อ...ชีวิต When I say dance 4… You say LIFE… dance 4… LIFE… dance 4… LIFE
เพศศึกษาใสถานศึกษา การพัฒนาศักยภาพเยาวชน เยาวชนมีส่วนร่วมสนับสนุนเพศศึกษาและบริการที่เป็นมิตร เยาวชนทุกคนได้เรียนเพศศึกษาต่อเนื่องทุกระดับชั้น
ถ้าบอกฉัน ฉันอาจจะลืมได้ ถ้าทำให้ฉันดู ฉันอาจจะจำได้ ถ้าให้ฉันลงมือทำด้วย ฉันจะเข้าใจ - ขงจื๊อ -
Dance4Lifeเฉลิมฉลอง พลังเยาวชน Heart Connection Tour (HCT)จุดประกายสร้างแรงบันดาลใจให้เยาวชน Skills 4Lifeค่ายแกนนำเยาวชนผู้นำการเปลี่ยนแปลง (agents4change) Act4Lifeพลังเยาวชนสู่ เพื่อนเยาวชน ๑ ธ.ค. วันเอดส์โลก มิ.ย.-ก.ค. ก.ค.-ส.ค. ก.ค.-พ.ย. การติดตามสนับสนุนกิจกรรมที่เยาวชนลงมือทำเอง อบรมCore Team
รวมพลัง วันเอดส์โลก ๑ ธ.ค. ๕๕
เป้าหมาย ๑๐ จังหวัด • ลำปาง • เกิดกลุ่มแกนนำหลัก (Core Team) ๓๐-๕๐ คน ที่จะเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงร่วมกับแกนนำเยาวชนใน ๑๐ จังหวัด เพื่อเข้าถึงเยาวชนราว ๑๐,๐๐๐ คน ในสถานศึกษา ขนาดกลางและใหญ่ จำนวน ๑๐๐ แห่ง • อุดรธานี • ศรีสะเกษ • นครสวรรค์ • ชัยภูมิ • กรุงเทพฯ • ระยอง • เพชรบุรี • ชลบุรี • นครศรีธรรมราช
มาดูว่าวัยรุ่นทำอะไรกันใน dance4life Moodclip 2009 sub_th
เพราะเหตุใด dance4lifeจึงทำงานกับ เยาวชน ? ปี ๒๕๕๓ ครึ่งหนึ่งของผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ทั่วโลกอยู่ในช่วงวัยรุ่น วันละประมาณ ๓,๐๐๐ คน จำนวนผู้ติดเชื้อฯ ในประเทศไทย มี ๖ แสนคน ปี ๒๕๕๔ มีผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มอีก๑๐,๐๙๗ คน หรือ เท่ากับวันละ ๒๗ คน หนึ่งในสามเป็นวัยรุ่นสรุปว่า วัยรุ่นไทยติดเชื้อฯ เฉลี่ยวันละ ๙ คน
เยาวชนเป็นอนาคตของสังคม และมีพลังที่จะเรียนรู้เรื่องเพศและเอดส์ เพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวี มีความเข้าใจและสามารถอยู่ร่วมกับเอชไอวี D4L เชื่อว่า การรวมพลังของเยาวชน ผนวกกับความต้องการเห็นการเปลี่ยนแปลง เยาวชนจะทำสิ่งใหม่ที่แตกต่างให้เกิดขึ้นได้ ทั้งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตัวเอง สู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในเรื่องเอชไอวี/เอดส์ รวมถึงการช่วยลดผลกระทบจากการอคติต่างๆ ที่มีต่อเรื่องเพศและเอชไอวี/เอดส์
เมื่อฉันพูดว่า เต้นเพื่อ... เธอพูดว่า...ชีวิต... เต้นเพื่อ...ชีวิต... เต้นเพื่อ...ชีวิต When I say dance 4… You say LIFE… dance 4… LIFE… dance 4… LIFE
Take re-spon si-bi-li-ty for life ความรับผิดชอบเพื่อชีวิต Let your voice be heard ร้องดังๆให้ได้ยิน
FREEZE หยุด
HIV and AIDS We Can Beat It เอช ไอ วี และ เอดส์ เราสู้กับมันได้
Take re-spon si-bi-li-ty ร่วมรับผิดชอบ
HIV and AIDS We Can Beat It เอช ไอ วี และ เอดส์ เราสู้กับมันได้ Take re-spon si-bi-li-ty ร่วมรับผิดชอบ
Ican.. You can ฉันทำได้...เธอก็ทำได้ To-ge-ther We Can All ฉันทำได้...เธอก็ทำได้ Beat It สู้กับมัน
H-I-V and AIDS we can beat it… Take re-spon-si-bi-li-ty (นับ ๑-๘) I Can… You Can… To-ge-ther We Can All… (ซ้ำ) Beat it!
FREEZE หยุด
เมื่อพูดถึง “เอดส์” คุณนึกถึง...?
HIV คือ เชื้อไวรัสที่ทำลายภูมิคุ้มกันของมนุษย์ มนุษย์ H HUMAN Immuno deficiency I ภูมิคุ้มกันถูกทำลาย V เชื้อไวรัส VIRUS
คำว่า AIDSย่อมาจาก ? Acquired ImmuneDeficiency Syndrome : กลุ่มอาการของโรคที่เกิดจากภูมิคุ้มกันในร่างกายบกพร่องจากการติดเชื้อ HIV
แลกน้ำ เครือข่าย การมีเพศสัมพันธ์
โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV คือ มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน กับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งดูไม่ออก
โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV คือ มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน กับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งดูไม่ออก ใครมีโอกาสทำพฤติกรรมแบบนี้บ้าง
x “พฤติกรรมเสี่ยง” (ไม่ว่าใครทำ) • มีเพศสัมพันธ์กับ คนขายบริการ • คนเที่ยวบริการทางเพศ • เพศสัมพันธ์กับเพศเดียวกัน • พวกสำส่อน กลุ่มเสี่ยง = มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งดูไม่ออก
ฟ • ผลเลือดบวก = ได้รับเชื้อเอชไอวี • ผลเลือดลบ = ๑. ยังไม่ได้รับเชื้อ • ๒. รับเชื้อแล้ว แต่ยังตรวจไม่พบ ตรวจเลือด ๓ เดือน ตรวจเลือด ? ๑ เมษา วันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ๑ มกรา ๑๔ กุมภา ? ตรวจเลือด = ป้องกัน
ติดเชื้อ ป่วยเอดส์ ต่างจาก
ผู้ติดเชื้อเอชไอวีผู้ที่มีเชื้อเอชไอวีอยู่ในร่างกาย ระดับภูมิคุ้มกันปกติ ดำเนินชีวิตได้ตามปกติ ผู้ป่วยเอดส์ มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง มีโรคหรือกลุ่มอาการ ที่เกิดจากภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ถุงยาง คือ อุปกรณ์คุมกำเนิดชนิดเดียว ที่ช่วยป้องกันโรคและการติดเชื้อเอชไอวี การป้องกันเป็นเรื่องของ ทั้ง สองฝ่าย ถุงยาง + ผู้ชาย = รู้จักป้องกัน, รับผิดชอบ = อุปกรณ์ของผู้ชาย ถุงยาง + ผู้หญิง = ไม่ดี, มีเพศสัมพันธ์, พร้อมมี ? พกได้ เผื่อถูกข่มขืน แต่พกไว้ใช้กับแฟน ? ?? ไม่ใช่เรื่องของผู้หญิง เปลี่ยนภาพลักษณ์ ของถุงยาง ? ถุงยาง = ปลอดภัย
อุปกรณ์คุมกำเนิดชนิดเดียว ที่ช่วยป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ถุงยาง ในมือผู้ชาย ถุงยาง ถุงยาง ในมือผู้หญิง การให้คุณค่า ความปลอดภัย ?
ถุงยางอนามัย ช่วยป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีได้ถ้าคุณใช้!!
ลักษณะสรีระตามธรรมชาติของหญิงและชาย (Sex) บทบาท/ความคาดหวังในเรื่องเพศของหญิงชาย (Gender Roles) ความสัมพันธ์เชิงอำนาจหญิงชาย (Gender Relations) โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อของหญิงชาย ความสามารถในการป้องกันตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ การเข้าถึงอุปกรณ์การป้องกัน ข้อมูลข่าวสาร และบริการ การมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบผลที่ตามมาจากเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย Genderกับ เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย
การปรับใช้มุมมองหญิงชายในเรื่องเพศการปรับใช้มุมมองหญิงชายในเรื่องเพศ • เข้าใจที่มาของ คติ / กรอบ/ / บรรทัดฐานเรื่องเพศในสังคม • หาแนวทางการสร้างความเข้าใจเพื่อลดมายาคติ/อคติในเรื่องเพศต่อหญิง/ชาย • การให้ความหมายใหม่ของบทบาทความสัมพันธ์ของหญิงชาย • การส่งเสริมความเชื่อ/ค่านิยมที่สนับสนุนการรับผิดชอบร่วมกันในเรื่องความสัมพันธ์ทางเพศ • สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยให้หญิงชายสามารถเผชิญสถานการณ์วิถีชีวิตทางเพศของตัวเองได้
ความรู้เรื่องเพศ v.s. ทัศนะเรื่องเพศ • เรื่องการป้องกัน เป็นเรื่องทั้ง ๒ ฝ่าย • ถุงยาง ควรเป็นบทบาท/หน้าที่ของผู้ชาย ความเชื่อ/ค่านิยม v.s. พฤติกรรม
การเรียนรู้และเข้าใจว่า “ความเป็นหญิงเป็นชาย” เป็นสิ่งที่สังคมสร้างกำหนดขึ้นและเปลี่ยนแปลงได้ และ “รสนิยมเรื่องเพศ” เป็นเรื่องบุคคล ไม่ใช่เรื่องผิดปกติ หรือเบี่ยงเบน จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่จะเคารพในความเป็นมนุษย์ที่เท่ากันโดยไม่ใช้ “กรอบเรื่องเพศ” มาจำกัดหรือตัดสินว่าใครจะทำอะไร หรือไม่ทำอะไรได้บ้าง
FREEZE หยุด
Take re-spon si-bi-li-ty for life ความรับผิดชอบเพื่อชีวิต Let your voice be heard ร้องดังๆให้ได้ยิน
ระดับความเสี่ยง • เสี่ยงมากเป็นความเสี่ยงในระดับที่ทำให้มีโอกาสได้รับเชื้อสูงมากและคนส่วนใหญ่ได้รับเชื้อเอชไอวีจากความเสี่ยงนั้นๆ • เสี่ยงปานกลางมีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อเอชไอวีอยู่บ้าง แต่ไม่เท่าเสี่ยงมาก • เสี่ยงน้อยมากมีความเสี่ยงในเชิงทฤษฎี แต่ในทางเป็นจริง โอกาสและความเป็นไปได้ที่จะได้รับเชื้อเอชไอวีจากการกระทำนั้นๆ แทบไม่มีเลย และไม่ปรากฎหรือมีกรณีน้อยมากๆ ว่ามีคนได้รับเชื้อเอชไอวีจากช่องทางนั้นๆ • ไม่เสี่ยงเป็นการกระทำหรือช่องทางที่ไม่มีโอกาสเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวีเลย
HIV อยู่ที่ไหนในร่างกายคน เลือด ใช้เข็มฉีดยาเสพติดร่วมกัน เพศสัมพันธ์ ไม่ป้องกัน น้ำอสุจิ น้ำในช่องคลอด น้ำหล่อลื่น น้ำนม แม่สู่ลูก
หลักการ QQR การที่คนๆ หนึ่งจะได้รับเชื้อHIV เข้าสู่ร่างกายจะต้องประกอบด้วย ๓ ปัจจัย ดังนี้ • ปริมาณของเชื้อ (Quantity) • คุณภาพของเชื้อ (Quality) • ช่องทางการติดต่อ (Route of Transmission)
Quantity - ปริมาณและแหล่งที่อยู่ของเชื้อ • เชื้อ HIV อยู่ในคนเท่านั้น (เกาะอยู่กับเม็ดเลือดขาว) • เชื้อ HIV อยู่ในสารคัดหลั่งบางอย่างในร่างกายของคนที่มีเชื้อ HIV เช่น เลือด น้ำอสุจิ น้ำในช่องคลอด น้ำนมแม่ ซึ่งมีปริมาณที่ไม่เท่ากัน • ต้องมีจำนวนเชื้อ HIV ในปริมาณที่มากพอในสารคัดหลั่งที่เป็นที่อยู่ของเชื้อ
Quality - คุณภาพของเชื้อ • เชื้อHIVต้องมี “คุณภาพพอ” • เชื้อ HIVไม่สามารถมีชีวิตอยู่นอกร่างกายคนได้ • สภาพในร่างกาย และสภาพแวดล้อม บางอย่างมีผลทำให้เชื้อไม่สามารถอยู่ได้ เช่น กรดในน้ำลาย กระเพาะอาหาร สภาพอากาศ ความร้อน ความแห้ง น้ำยาต่างๆ