1 / 7

บทที่ 10

บทที่ 10. สตริง. สตริง (String). สตริงในภาษา C ก็คือ อาร์เรย์ของตัวอักษร ที่มีข้อมูลชนิดตัวอักษรเรียงกันไป แต่จะต้องมีจุดสิ้นสุดด้วย โดยจะใช้ตัวอักษรวางหรือ Null Character เป็นจุดสิ้นสุดของสตริง ซึ่งจะต่างจากอาร์เรย์ปกติที่ไม่ต้องมีจุดสิ้นสุดของอาร์เรย์. การเก็บข้อมูลของสตริง.

Download Presentation

บทที่ 10

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 10 สตริง

  2. สตริง (String) สตริงในภาษา C ก็คือ อาร์เรย์ของตัวอักษร ที่มีข้อมูลชนิดตัวอักษรเรียงกันไป แต่จะต้องมีจุดสิ้นสุดด้วย โดยจะใช้ตัวอักษรวางหรือ Null Character เป็นจุดสิ้นสุดของสตริง ซึ่งจะต่างจากอาร์เรย์ปกติที่ไม่ต้องมีจุดสิ้นสุดของอาร์เรย์ สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

  3. การเก็บข้อมูลของสตริงการเก็บข้อมูลของสตริง การเก็บข้อมูลของสตริงนั้น จะมีการเก็บข้อมูลอยู่ 2 ส่วน ส่วนแรกจะเป็นข้อมูลตัวอักษรโดยเก็บเรียงกันไป และส่วนที่ 2 จะเก็บจุดสิ้นสุดของสตริง ซึ่งจุดสิ้นสุดของสตริงจะใช้ Null Character หรือ ‘\0’ จุดเริ่มของสตริง จุดสิ้นสุดของสตริง สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

  4. การประกาศตัวแปรสตริงและการกำหนดค่าเริ่มต้นการประกาศตัวแปรสตริงและการกำหนดค่าเริ่มต้น • ความจริงภาษา C จะมีไม่ชนิดข้อมูลสตริง แต่มันจะใช้อาร์เรย์ของตัวอักษรแทน ในการประกาศตัวแปรสตริงนั้น จะคำนึงความยาวของข้อมูล และสิ่งที่ลืมเสียไม่ได้ คือ จะต้องมีพื้นที่อีก 1 ในการใช้เก็บจุดสิ้นสุดของสตริงด้วย เพราะภาษา C จะมีข้อบังคับอยู่ว่า ไบต์สุดท้ายจะเป็นส่วนที่เก็บจุดสิ้นสุดของสตริงเสมอ • ผู้ใช้มีข้อมูลขนาด 10 ไบต์หรือ 10 ตัวอักษร ผู้ใช้จะต้องกำหนดขนาดของตัวแปรสตริงตัวนั้นเป็น 11 ไบต์ • char str[11] ; สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

  5. สตริงกับพอยเตอร์ • ถ้าผู้ใช้ต้องการที่จะประกาศตัวแปรพอยเตอร์ของสตริง ก็สามารถทำได้เหมือนกับการประกาศพอยเตอร์ตามปกติ แต่จะสามารถใช้ได้กับชนิดข้อมูลที่เป็นตัวอักษรหรือ Char เท่านั้น ในการประกาศพอยเตอร์และกำหนดค่าเริ่มต้น สามารถทำได้ดังนี้ • char *pStr = “Good Day!”; สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

  6. ฟังก์ชัน Input / Output ของสตริง • ฟังก์ชัน Input : ฟังก์ชัน scnaf() นั่นเอง แต่จะใช้รูปแบบข้อมูลเป็น %s (ซึ่งจะใช้ทั้งการ Input และ Output) • scanf(“%s”, month); • char month[10]; scanf(“%9s”, month); • ฟังก์ชัน Output : ฟังก์ชันในการ printf ซึ่งในภาษา C นั้น สามารถที่จะกำหนดให้ข้อมูลของสตริง เมื่อเวลาจะพิมพ์แสดงนั้น จะให้อยู่ติดขอบซ้ายหรือขอบขวาก็ได้ โดยใช้เครื่องหมาย – และต้องกำหนดขนาดความยาวของส่วนที่จะพิมพ์ด้วย สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

  7. ฟังก์ชันอื่นที่ใช้กับสตริงฟังก์ชันอื่นที่ใช้กับสตริง • ความยาวสตริง (strlen) • คัดลอกสตริง (strcpy, strncpy) • เปรียบเทียบสตริง (strcmp, strncmp) • ต่อสตริง (strcat, strncat) สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

More Related