600 likes | 710 Views
โครงการศึกษาเรื่องการเตรียมความพร้อมของอุตสาหกรรมโทรคมนาคม และการศึกษาผลกระทบเพื่อรองรับ การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558. ภารกิจโทรคมนาคม กลุ่มงานค่าธรรมเนียมและอัตราค่าบริการในกิจการโทรคมนาคม (นท.). 29 พฤศจิกายน 2556. ความเป็นมา.
E N D
โครงการศึกษาเรื่องการเตรียมความพร้อมของอุตสาหกรรมโทรคมนาคม และการศึกษาผลกระทบเพื่อรองรับ การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558 ภารกิจโทรคมนาคม กลุ่มงานค่าธรรมเนียมและอัตราค่าบริการในกิจการโทรคมนาคม (นท.) 29 พฤศจิกายน 2556
ความเป็นมา • ประเทศสมาชิก ASEAN ได้ตกลงกันในการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ในปี 2558 • แผนแม่บทโทรคมนาคม ยุทธศาสตร์ 5.6 ด้านการเตรียมความพร้อมและการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ
วัตถุประสงค์โครงการ • วิเคราะห์สถานภาพปัจจุบันของอุตสาหกรรม ICT และผลกระทบของเชิงนโยบายหรือมาตรการต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นหลังจากที่ไทยเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • เพื่อจัดทำแผนการเตรียมความพร้อมของกิจการโทรคมนาคมเพื่อรองรับการเข้าสู่ AEC โดย • จัดทำวิสัยทัศน์หรือเป้าหมายสำหรับภาคอุตสาหกรรมโทรคมนาคม • ประเมินผลกระทบของการเปิดเสรีและทางเลือกของนโยบายและมาตรการต่างๆ • เสนอนโยบาย กลยุทธ์ และมาตรการในการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนด้านกิจการโทรคมนาคม • จัดทำข้อเสนอเพื่อพัฒนา ปรับปรุง หรือ ออกกฎระเบียบเกี่ยวกับกิจการโทรคมนาคมเพื่อรองรับแผนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๒๕๕๘
สรุปสถานะอุตสาหกรรม ICT ของประเทศไทย
Networked Readiness Index (NRI) Networked Readiness Index (2012) World ranking 77 2 29 54
ราคาค่าบริการ Almost highest affordability Mobile 0.09 $/min Fixed BB 34.79 $/month
คุณภาพสัญญาณโทรศัพท์มือคุณภาพสัญญาณโทรศัพท์มือ
ระดับการแข่งขันภายในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมค่อนข้างสูงระดับการแข่งขันภายในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมค่อนข้างสูง ที่มา: ผู้วิจัยรวบรวมโดยใช้ข้อมูลจาก International Telecommunication Union (ITU)และWorld Bankปี 2012ข้อมูล Networked Readiness Index 2012จาก WEFและ INSEAD
ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทยมีความร่วมมือกับบริษัทชั้นนำของโลกผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทยมีความร่วมมือกับบริษัทชั้นนำของโลก 21.16% 42.61%
มีการใช้ประโยชน์จาก ICT ในด้านต่างๆ อย่างหลากหลาย
ส่งผลต่อการเจริญเติบโตทางเศรฐกิจส่งผลต่อการเจริญเติบโตทางเศรฐกิจ
การใช้ประโยชน์จาก ICT อยู่ในระดับต่ำ
คุณภาพด้านความเร็วอินเทอร์เน็ตคุณภาพด้านความเร็วอินเทอร์เน็ต
คุณภาพด้านความเร็วอินเทอร์เน็ตคุณภาพด้านความเร็วอินเทอร์เน็ต
ความครอบคลุมเชิงพื้นที่ความครอบคลุมเชิงพื้นที่
ความเข้าใจที่ผิดพลาดในเรื่องความโปร่งใสของการกำกับดูแลความเข้าใจที่ผิดพลาดในเรื่องความโปร่งใสของการกำกับดูแล
ความเข้าใจที่ผิดพลาดในเรื่องความโปร่งใสของการกำกับดูแลความเข้าใจที่ผิดพลาดในเรื่องความโปร่งใสของการกำกับดูแล Updated TRGI for Thailand ! ITU data (2012): 0.33 NBTC (2013): min of 0.53 max of 0.73
โอกาสและความสามารถในการแข่งขันในตลาดต่างประเทศโอกาสและความสามารถในการแข่งขันในตลาดต่างประเทศ
การจัดอันดับบริษัทที่ใหญ่ที่สุดในโลก Global 2000 โดย Forbes ด้านบริการโทรคมนาคม
การเข้าถึงบริการโทรคมนาคมของประชากรในประเทศที่พัฒนาแล้วการเข้าถึงบริการโทรคมนาคมของประชากรในประเทศที่พัฒนาแล้ว
การเข้าถึงบริการโทรคมนาคมของประชากรในประเทศที่กำลังพัฒนาการเข้าถึงบริการโทรคมนาคมของประชากรในประเทศที่กำลังพัฒนา
สัดส่วนการลงทุนในประเทศมุสลิมสัดส่วนการลงทุนในประเทศมุสลิม
สัดส่วนการลงทุนในประเทศมุสลิมสัดส่วนการลงทุนในประเทศมุสลิม
ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคมปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม
ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม:การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลอนุกรมเวลาปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม:การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลอนุกรมเวลา
ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม:การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลอนุกรมเวลา (ต่อ) ปริมาณการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ การเพิ่มขึ้นของประชากร การขยายตัวของการใช้บริการ (Diffusion) เวลา
ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม:การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลอนุกรมเวลา (ต่อ)
ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม:การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลอนุกรมเวลา (ต่อ) ปริมาณการใช้อินเทอร์เน็ตบอร์ดแบนด์ การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ การศึกษา การเพิ่มขึ้นของประชากร การขยายตัวของการใช้บริการ (Diffusion) เวลา
ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม:การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลอนุกรมเวลา (ต่อ)
ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม:การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลอนุกรมเวลา (ต่อ) ปริมาณการใช้โทรศัพท์ประจำที่ การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ การขยายตัวของการใช้บริการ (Diffusion) เวลา
ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม:การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลภาคตัดขวาง กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับ ICT ความสามารถในการเรียนรู้ เทคโนโลยีของภาคธุรกิจ การใช้ซอฟต์แวร์ผิดกฎหมาย อัตราการเข้าเรียนระดับอุดมศึกษา ค่าบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ICT การเข้าถึงเนื้อหาดิจิตอล ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ความครอบคลุมของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่
ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม: การวิเคราะห์ด้วยข้อมูลภาคตัดขวาง (ต่อ)
สรุป ปัจจัยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโทรคมนาคม
ผลของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมที่มีต่อการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมอื่น: การวิเคราะห์ค่าตัวทวี ที่มา: ค่าของประเทศไทยมาจากการคำนวณโดยผู้วิจัย ค่าของประเทศอื่น ๆ มาจาก Katz (2010) หมายเหตุ 1: ค่าตัวทวีของต่างประเทศเป็นค่าตัวทวีของภาคการก่อสร้างเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง หมายเหตุ 2: Type I Multiplier = (Direct + Indirect)/Direct ส่วน Type II Multiplier = (Direct + Indirect + Induced)/Direct
การวิเคราะห์ผลกระทบของนโยบายการวิเคราะห์ผลกระทบของนโยบาย หรือมาตรการด้าน ICT
การวิเคราะห์ผลกระทบของนโยบาย หรือมาตรการด้าน ICT พิจารณาผลกระทบใน 7 ประเด็น ได้แก่
ประเด็นที่ 1 การเปิดโอกาสให้คนต่างชาติถือหุ้นในสัดส่วนมากขึ้น
ประเด็นที่ 1 การเปิดโอกาสให้คนต่างชาติถือหุ้นในสัดส่วนมาก (ต่อ) วัดผลที่เกิดกับการแข่งขันโดยตรง วัดผลที่เกิดกับ “ราคา”ซึ่งเป็นตัวแทนของการแข่งขัน • สัดส่วนการถือหุ้นโดยคนต่างชาติที่เพิ่มขึ้นจะทำให้การแข่งขันในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมเพิ่มมากขึ้น • ความแข็งแกร่งในการปกป้องนักลงทุน ทำให้นักลงทุนมั่นใจที่จะมาลงทุนในประเทศนั้น ๆ มากขึ้น จึงทำให้เกิดการแข่งขันเพิ่มขึ้น ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากทั้งดัชนีการแข่งขันที่เพิ่มขึ้น และราคาค่าบริการอินเทอร์เน็ต บรอดแบนด์ที่ลดลง
ประเด็นที่ 1 การเปิดโอกาสให้คนต่างชาติถือหุ้นในสัดส่วนมากขึ้น (ต่อ) IRR จะลดลงจาก 20.83% เหลือประมาณ 18.56% ผู้ประกอบการรายเดิมได้รับผลกระทบไม่มากนัก
ประเด็นที่ 2 การลดค่าบริการโรมมิ่ง การลดค่าบริการโรมมิ่ง นักท่องเที่ยวต่างชาติในไทย ประหยัดเงินจากบริการโรมมิ่งที่ลดลง นักท่องเที่ยวไทยประหยัดเงินจากบริการโรมมิ่งที่ลดลง บริษัทโทรคมนาคมไทยเสียรายได้ค่าบริการโรมมิ่ง ใช้จ่ายที่ประเทศไทย นำกลับมาใช้จ่ายที่ประเทศไทย • ประเทศไทยจะได้ประโยชน์สุทธิเป็นบวก ก็ต่อเมื่อมีปริมาณการใช้บริการโรมมิ่งมากขึ้น อย่างน้อยในอัตราที่เท่ากับอัตราการลดค่าบริการโรมมิ่ง • หากปริมาณการใช้บริการโรมมิ่งไม่เพิ่มขึ้น ประเทศไทยจะเสียประโยชน์สุทธิ
ประเด็นที่ 3 การเปิดเสรีเคเบิ้ลใต้น้ำ ศึกษาความเป็นไปได้ของการมีผู้ประกอบการรายที่สอง เข้ามาแข่งขันในกิจการเคเบิ้ลใต้น้ำ การลงทุนวางเคเบิ้ลใต้น้ำเพื่อการสื่อสารภายในประเทศ การลงทุนวางเคเบิ้ลใต้น้ำเพื่อการสื่อสารระหว่างประเทศ ใช้ข้อมูลการลงทุน ศึกษาจากกรณีการลงทุนของ CAT คือ โครงการ CSA (CAT Submarine Network) โครงการที่ CAT ให้บริการ PTTEP และ โครงการ APG (Asia-Pacific Gateway)
ประเด็นที่ 3 การเปิดเสรีเคเบิ้ลใต้น้ำ (ต่อ)
ประเด็นที่ 3 การเปิดเสรีเคเบิ้ลใต้น้ำ (ต่อ) ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial analysis) ของโครงการลงทุนวางเคเบิ้ลใต้น้ำเพื่อการสื่อสารภายในประเทศ ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ (Economic analysis) ของโครงการลงทุนวางเคเบิ้ลใต้น้ำเพื่อการสื่อสารภายในประเทศ
ประเด็นที่ 3 การเปิดเสรีเคเบิ้ลใต้น้ำ (ต่อ) ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial analysis) ของโครงการลงทุนวางเคเบิ้ลใต้น้ำเพื่อการสื่อสารระหว่างประเทศ ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ (Economic analysis) ของโครงการลงทุนวางเคเบิ้ลใต้น้ำเพื่อการสื่อสารระหว่างประเทศ
ประเด็นที่ 3 การเปิดเสรีเคเบิ้ลใต้น้ำ (ต่อ) • กิจการเคเบิ้ลใต้น้ำสำหรับการสื่อสารภายในประเทศ ไม่พร้อมที่จะมีผู้ประกอบการรายที่สองเข้ามาแข่งขัน โดยมีความเสี่ยงที่เมื่อมีการแข่งขันแล้ว จะทำให้ผู้ประกอบการทั้งสองรายจะประสบกับความไม่คุ้มค่าในการลงทุน • กิจการเคเบิ้ลใต้น้ำสำหรับการสื่อสารระหว่างประเทศ สามารถรองรับผู้ประกอบการรายที่สองได้
ประเด็นที่ 4 การใช้โครงสร้างพื้นฐานร่วมกันและสิทธิแห่งทาง ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางการเงิน ของโครงการลงทุนขยายพื้นที่บรอดแบนด์ ภายหลังจากการใช้มาตรการสิทธิแห่งทาง ค่า IRR จากการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ของโครงการลงทุนขยายพื้นที่บรอดแบนด์ ภายหลังจากการใช้มาตรการสิทธิแห่งทาง
ประเด็นที่ 4 การใช้โครงสร้างพื้นฐานร่วมกันและสิทธิแห่งทาง (ต่อ) • มาตรการสิทธิแห่งทางจะสามารถช่วยลดต้นทุนให้กับผู้ประกอบการได้ และจะช่วยเพิ่มอัตราผลตอบแทนของการลงทุน จึงควรสนับสนุนให้ใช้มาตรการนี้