1 / 10

การจัดทำทะเบียนแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง สัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา

การจัดทำทะเบียนแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง สัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา. คณะกรรมการบริหารแรงงานต่างด้าว. จัดตั้งโดยระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารแรงงานต่างด้าว หลบหนีเข้าเมือง พ.ศ.2544 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2546. คณะกรรมการบริหาร แรงงานต่างด้าวหลบหนี เข้าเมือง (กบร.).

Download Presentation

การจัดทำทะเบียนแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง สัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำทะเบียนแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง สัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา

  2. คณะกรรมการบริหารแรงงานต่างด้าวคณะกรรมการบริหารแรงงานต่างด้าว จัดตั้งโดยระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารแรงงานต่างด้าว หลบหนีเข้าเมือง พ.ศ.2544 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2546 คณะกรรมการบริหาร แรงงานต่างด้าวหลบหนี เข้าเมือง (กบร.) นายยกรัฐมนตรีหรือผู้ที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธาน ปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นประธาน อธิบดีกรมการจัดหางาน เป็นกรรมการ/เลขานุการ คณะอนุกรรมการอำนวยการบริหารแรงงานต่างด้าวทั้งระบบ อนุกรรมการด้านต่าง ๆ คณะอนุกรรมการสกัดกั้นแรงงานต่างด้าวลักลอบเข้ามาทำงาน คณะอนุกรรมการปราบปราม จับกุม ดำเนินคดีแรงงานต่างด้าวลักลอบทำงาน คณะอนุกรรมการคิดตามและประเมินผลแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง

  3. การจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าวการจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าว มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2547 และวันที่ 27 เมษายน 2547 ม.17 พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522 ประกาศให้คนต่างด้าวหลบหนี เข้าเมืองสัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการ ชั่วคราวเพื่อรอการส่งกลับและทำงานเป็นระยะเวลา 1 ปี จัดทำทะเบียนประวัติตามมาตรา 5 แห่ง พ.ร.บ.การทะเบียนราษฎร จัดทำทะเบียนประวัติและบัตรประจำตัว ณ สำนักทะเบียนอำเภอ /ท้องถิ่น เพื่อออก ท.ร.38/1 (แบบรับรองรายการทะเบียนประวัติ แรงงานต่างด้าว) เป็นหลักฐานในการทำงาน กลุ่มที่ 1 จัดทำเมื่อ 1-31 กรกฎาคม 2547 จำนวนคนที่ขึ้นทะเบียน 1,161,013 คน ขออนุญาตทำงาน 876,762 คน มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2548 ต่ออีก 1 ปี ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2549 มีคนมารายงานตัวและขออนุญาตทำงาน จำนวน 705,293 คน มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2549 ต่ออีก 1 ปี ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2550 มีคนมารายงานตัวและขออนุญาตทำงาน จำนวน 460,014 คน

  4. การจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าวการจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าว มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2548 ม.17 พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522 ประกาศให้คนต่างด้าวหลบหนี เข้าเมืองสัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการ ชั่วคราวเพื่อรอการส่งกลับและทำงานเป็นระยะเวลา 1 ปี (28 ก.พ.2550) จัดทำทะเบียนประวัติตามมาตรา 5 แห่ง พ.ร.บ.การทะเบียนราษฎร จัดทำทะเบียนประวัติและบัตรประจำตัว ณ สำนักทะเบียนอำเภอ /ท้องถิ่น เพื่อออก ท.ร.38/1 (แบบรับรองรายการทะเบียนประวัติ แรงงานต่างด้าว) เป็นหลักฐานในการทำงาน กลุ่มที่ 2 จัดทำเมื่อ 1-30 มีนาคม 2549 จำนวนคนที่ขึ้นทะเบียน 256,899 คน ขออนุญาตทำงาน 208,562 คน มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2549 อนุญาตให้แรงงาน ต่างด้าวกลุ่มที่ 1 และ 2 ต่ออีก 1 ปี(กลุ่มที่ 1 ถึงวันที่ 30 มิ.ย.2551 และกลุ่มที่ 2 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551มีคนมารายงานตัวและ ขออนุญาตทำงาน จำนวน 532,584 คน

  5. การจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าวการจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าว มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2550 จัดให้มีการจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง สัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา ตามมาตรการสนับสนุนเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส สตูล และสงขลา 4 อำเภอ (อ.จะนะ นาทวี เทพา และสะบ้าย้อย) อนุญาต ตามระยะเวลาแต่ไม่เกินวันที่ 14 มีนาคม 2551 กลุ่มที่ 3 จัดทำเมื่อ 15 มีนาคม-13 พฤษภาคม 2550 จำนวนคนที่ขึ้นทะเบียน 12,479 คน ขออนุญาตทำงาน 9,432 คน

  6. การจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าวการจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าว มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2550 ม.17 และมาตรา 54 พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522 ออกประกาศผ่อนผัน ให้คนต่างด้าวที่เคยจัดทำทะเบียนประวัติไว้กับ ปค. (มี ท.ร.38/1) แต่ ปัจจุบันไม่ได้รับการผ่อนผัน เนื่องจากไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขของประ กาศกระทรวงมหาดไทย อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว เพื่อรอการส่งกลับเป็นระยะเวลา 2 ปี (ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2553) ให้จัดทำทะเบียนประวัติและบัตรประจำตัว ณ สำนักทะเบียนอำเภอ /ท้องถิ่น เพื่อออก 38/1 เป็นหลักฐาน กลุ่มที่ 4 จัดทำเมื่อ 21 มกราคม - 19 กุมภาพันธ์ 2551 จำนวนคนที่ขึ้นทะเบียน 96,807 คน ขออนุญาตทำงาน 68,820 คน คนต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา ที่ ปค. จัดทำทะเบียนทั้ง 4 กลุ่ม มีจำนวนทั้งสิ้น 1,536,896 คน สรุป

  7. การจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าวการจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าว ปค. จัดทำทะเบียนประวัติคนต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา ณ สำนักทะเบียนอำเภอ/ท้องถิ่น แล้วออกหลักฐาน ท.ร.38/1 เพื่อขออนุญาติทำงานกับกรมการจัดหางาน การจัดทำบัตรประจำตัว และบัตรอนุญาตทำงาน กรมจัดหางานอนุญาตให้ทำงาน จะส่งข้อมุลการอนุญาตทำงานมายัง ปค. โดยระบบออนไลน์เพื่อผลิตบัตรฯ ทั้งบัตรประจำตัวและบัตร อนุญาตทำงาน อยู่ในใบเดียวกันแล้วจัดส่งให้กรมการจัดหางานเพื่อ แจกจ่ายให้แรงงานต่างด้าวต่อไป รัฐบาลลาว จัดส่งเจ้าหน้าที่เข้ามาพิสูจน์สัญชาติแรงงานลาวในประเทศ ไทย โดยให้การรับรองสัญชาติและออกหนังสือเดินทางชั่วคราวแล้ว จำนวน 56,722 คน จากแรงงานจำนวน 90,073 คน การพิสูจน์สัญชาติแรงงาน ลาว และกัมพูชา (พม่ายังไม่มีการพิสูจน์) จนท.กัมพูชา จัดส่งเจ้าหน้าที่เข้ามาพิสูจน์สัญชาติแรงงานในประเทศ ไทย โดยให้การรับรองสัญชาติและออกหนังสือเดินทางชั่วคราวแล้ว จำนวน 47,7072 คน จากแรงงานจำนวน 75,804 คน

  8. การจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าวการจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าว ให้จังหวัดหรือหน่วยงานด้านความมั่นคงภายหรือการรักษาความสงบ เรียบร้อย รายงานพฤติการณ์ของคนต่างด้าวที่ขัดต่อความสงบเรียบ ร้อย ให้กระทรวงมหาดไทยพิจารณายกเลิกการอนุญาตให้อยู่ในราช อาณาจักรเป็นกรณีพิเศษต่อไป การเพิกถอนการอนุญาต ให้อยู่ในราชอาณาจักร การออกนอกเขตเพื่อปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือการ รักษาพยาบาล เพื่อ 1) ปฏิบัติตามกฎหมาย หรือข้อบังคับ เป็นพยานศาล 2) ได้รับหมายเรียกจากพนักงานสอบสวน 3) มีหนังสือเรียกตัวจากหน่วยงานของรัฐในสังกัดกระทรวงแรงงาน 4) เพื่อการรักษาพยาบาล กรุงเทพ จั้งความจำนงที่สำนักงานศูนย์ดำเนินการเกี่ยวกับผู้อพยพ กระทรวงมหาดไทย เลขที่ 167 สี่แยกศรีย่าน ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ ในวันเวลาราชการ ก่อนเวลาออกนอกเขตพื้นที่อย่างน้อย 3 วันทำการ สำรับพื้นที่จังหวัดอื่น ให้ยื่นความจำนงต่อผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ที่ ได้รับมอบหมาย ครั้งละไม่เกิน 15 วัน ถ้าเกิน 15 วัน ต้องขออนุญาตต่อ ปลัดกระทรวงมหาดไทยยกเว้นกรณีเจ็บป่วย การรายงานตัวต้องราย งานตัว ณ สถานีตำรวจในพื้นที่ภายใน 3 วัน (นับแต่วันที่เดินทางไปถึง) การออกนอกเขตพื้นที่จัง หวัดที่ได้จัดทำทะเบียน ประวัติ

  9. การจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าวการจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าว การออกนอกเขตจังหวัด/กรุงเทพมหานคร เพื่อเดินทางไปทำงานใน จังหวัดอื่น/กรุงเทพมหานคร (สำหรับแรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาต ให้เปลี่ยนการทำงานไปยังท้องที่จังหวัดอื่น) 1) การย้ายออกไปทำงานนอกพื้นที่จังหวัดอย่างถาวร (เปลี่ยนนายจ้าง หรือนายจ้างเดิมเปลี่ยนที่อยู่ไปจังหวัดอื่น) ให้นายจ้างนำหนังสือที่อนุญาต พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง รูปถ่าย 1 นิ้ว 2 ใบ ยื่นขออนุญาตออกนอกพื้นที่ กรุงเทพ จั้งความจำนงที่สำนักงานศูนย์ดำเนินการเกี่ยวกับผู้อพยพ กระทรวงมหาดไทย เลขที่ 167 สี่แยกศรีย่าน ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ ในวันเวลาราชการ สำรับพื้นที่จังหวัดอื่น ให้ยื่นความจำนงต่อผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ที่ ได้รับมอบหมาย ให้นายจ้างย้ายออกจากทะเบียนบ้านอยู่เดิม (ต้นทาง) แล้วเดินทางไป รายงานตัวที่จังหวัดปลายทาง ณ ที่ทำการปกครองจังหวัด หรือที่ที่ผู้ ว่าราชการจังหวัดกำหนดหรือที่ที่สำนักงานศูนย์ดำเนินการเกี่ยวกับ ผู้อพยพ กระทรวงมหาดไทย เลขที่ 167 สี่แยกศรีย่าน ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ ก่อนไปแจ้งย้ายเข้าทะเบียนที่อยู่กับนายทะเบียน อำเภอ/ท้องถิ่น การออกนอกเขตพื้นที่จัง หวัดที่ได้จัดทำทะเบียน ประวัติ

  10. การจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าวการจัดทำทะเบียนประวัติแรงงานต่างด้าว 2) การเพิ่มพื้นที่ทำงานไปยังจังหวัดอื่น (นายจ้างเดิม) ให้ดำเนินการ เช่นเดียวกัน แต่เมื่อได้รับหนังสืออนุญาตออกนอกเขตพื้นที่แล้ว ไม่ต้องแจ้งย้ายออกจากทะเบียนบ้าน โดยเดินทางไปรายงานตัว ณ สถานีตำรวจในพื้นที่ที่ไปทำงานภายใน 3 วัน (นับแต่วันเดินทางไปถึง) กรณีการเคลื่อนย้ายออกนอกพื้นที่จังหวัดเพื่อทำงานในพื้นที่ จังหวัดเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจใน 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ (จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส สตูล และสงขลา 4 อำเภอ (อ.จะนะ นาทวี เทพา และสะบ้าย้อย) ให้เคลื่อนย้ายเฉพาะในพื้นที่ จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส สตูล และสงขลา 4 อำเภอ (อ.จะนะ นาทวี เทพา และสะบ้าย้อย) เท่านั้น การออกนอกเขตพื้นที่จัง หวัดที่ได้จัดทำทะเบียน ประวัติ

More Related