230 likes | 573 Views
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate ชมรมครูคณิตศาสตร์อาชีวศึกษา. วันที่ 2-5 เมษายน 2557 ณ โรงแรมชากังราวริ เวอร์ วิว จังหวัดกำแพงเพชร.
E N D
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate ชมรมครูคณิตศาสตร์อาชีวศึกษา วันที่ 2-5 เมษายน 2557 ณ โรงแรมชากังราวริเวอร์วิว จังหวัดกำแพงเพชร
การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม 4 Csสำหรับครูคณิตศาสตร์อาชีวศึกษา ในศตวรรษที่ 21การคิดวิเคราะห์ Critical thinking / การสื่อสาร Communication / การร่วมมือ Collaboration/ ความคิดสร้างสรรค์ Creativity วันที่ 2-5 เมษายน 2557 ณ โรงแรมชากังราวริเวอร์วิว จังหวัดกำแพงเพชร
Contents แนะนำวิทยากร เนื้อหาอบรม Social Media : ครูสอนดี | Facebook ADDIE Model
วิทยากร ชื่อ-สกุล :ผศ.ดร.ภาสกร เรืองรองสังกัด: ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกศาสตร์ มหวิทยาลัยนเรศวรตำแหน่ง :อาจารย์ประจำภาควิชา เบอร์โทร : 08-6591-7550 e-Mail:passk.rong@facebook.com การศึกษาปริญญาตรี :ศศ.บ. เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปริญญาโท :คม. โสตทัศนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาเอก :ปร.ด. คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วิทยากร ชื่อ-สกุล :ศน.วินัย ปานโท้(วินัย)สังกัด:สพป.พิษณุโลก เขต 3ตำแหน่ง :ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ จ.พิษณุโลก เขต 3 เบอร์โทร : 08-7197-5605 e-Mail: winaipl3@gmail.com การศึกษาปริญญาตรี :คบ. การประถมศึกษา สถาบันราชภัฏกำแพงเพชร ปริญญาโท :คม. วิจัยการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาเอก :ปร.ด. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร (กำลังศึกษา)
วิทยากร ชื่อ-สกุล :อาจารย์ยุทธนา พันธ์มี (ยุทธ)สังกัด: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรตำแหน่ง :ประธานโปรแกรมวิชาการประถมศึกษา เบอร์โทร : 08-9267- 8222 e-Mail: nong.tana@hotmail.com การศึกษาปริญญาตรี :ศศ.บ. การจัดการทั่วไป (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) สถาบันราชภัฏกำแพงเพชร ปริญญาโท :กศ.ม. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวรปริญญาเอก :ปร.ด. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร (กำลังศึกษา)
วิทยากร ชื่อ-สกุล :อ.วสันต์ ศรีหิรัญ (เก่ง)สังกัด: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครตำแหน่ง :หัวหน้าสำนักงานคณบดี คณะครุศาสตร์เบอร์โทร : 08-8563-8677 e-Mail: keng_nu@hotmail.com การศึกษาปริญญาตรี :วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปริญญาโท :ศษ.ม. เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่นปริญญาเอก :ปร.ด. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร (กำลังศึกษา)
วิทยากร ชื่อ-สกุล :อ.เพ็ญภรณ์ เหลียวเจริญวัฒน์(หมวย)สังกัด: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครตำแหน่ง :อาจารย์ประจำโปรแกรมวิชาการประถมศึกษาเบอร์โทร : 08-7846-3303 e-Mail: yaimyay11@gmail.com การศึกษาปริญญาตรี :ศศ.บ. ภาษาฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยนเรศวร ปริญญาโท :วท.ม. เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตและสารสนเทศปริญญาเอก :ปร.ด. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร (กำลังศึกษา)
เครือขายองคกรความรวมมือเพื่อทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) ไดพัฒนาวิสัยทัศนเพื่อความสำเร็จของนักเรียนในระบบเศรษฐกิจโลกใหม
ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรม (Creativity and Innovation) การคิดอยางมีวิจารณญานและการแกปญหา(Critical Thinking and Problem Solving) การสื่อสารและความรวมมือ (Communication and Collaboration) ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ทักษะดานสารสนเทศ (Information Literacy) ทักษะดานสื่อ(Media Literacy) ทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Communications and Technology, Literacy) ทักษะชีวิตและอาชีพ ความยืดหยุนและความสามารถในการปรับตัว (Flexibility and Adaptability) การริเริ่มและการกำกับดูแลตนเองได (Initiative and Self-Direction) ทักษะดานสังคมและทักษะขามวัฒนธรรม (Social and Cross-Cultural Skills) การมีผลงานและความรับผิดชอบตรวจสอบได (Productivity and Accountability) ภาวะผูนำและความรับผิดชอบ (Leadership and Responsibility)
รูปแบบการสอนและนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 ความรู้เนื้อหา
รูปแบบการสอนและนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21TPACK Model ความรู้เนื้อหาการเรียนการสอนเทคโนโลยี TPK ความรู้เนื้อหาเทคโนโลยี TCK ความรู้เทคโนโลยี TK ความรู้การเรียนการสอนPK ความรู้เนื้อหา CK ความรู้เนื้อหาการเรียนการสอน PCK ความรู้การเรียนการสอนเทคโนโลยี TPK บริบท
http://www.facebook.comกลุ่ม “ครูรุ่นใหม่หัวใจไอที”
ADDIE model หลักการออกแบบของ ปัจจุบันการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Learning เป็นเทคโนโลยีการศึกษาที่ใช้เพื่อสนับสนุน และเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ของผู้เรียนในสถาบันอุดมศึกษาหลายๆ สถาบัน ทำให้ทั้งอาจารย์ผู้สอนและหน่วยงานผู้รับผิดชอบด้าน e-Learning ของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ หาแนวทางเพื่อการออกแบบและการผลิตบทเรียน e-Learning ให้ได้เกิดทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล
Analysis (การวิเคราะห์) การกำหนดหัวเรื่อง และวัตถุประสงค์ทั่วไป การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม การวิเคราะห์เนื้อหา
Development (การพัฒนา) เป็นขั้นตอนการสร้าง/ เขียนโปรแกรมและผลิตเอกสาร การเตรียมการ เตรียมข้อความ, ภาพ, เสียง และโปรแกรมการจัดบทเรียน การสร้างบทเรียน เปลี่ยน Storyboard ให้กลายเป็นบทเรียน การสร้างเอกสารประกอบการเรียน
Implementation (การนำไปใช้) นำบทเรียนที่สร้างขึ้นไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของบทเรียนในขั้นต้น ทำการปรับปรุงแก้ไขก่อนการนำไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายจริง เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียน นำไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบประสิทธิภาพ ความเหมาะสมหาประสิทธิภาพ E1/E2 กับกลุ่มเป้าหมาย
Evaluation (การประเมินผล) การเปรียบเทียบกับการเรียนการสอนแบบปกติ โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็น 2 กลุ่ม เรียนด้วยบทเรียนที่สร้างขึ้น เรียนด้วยการสอนแบบปกติ หลังจากนั้นจึงให้ผู้เรียนทั้งสองกลุ่ม ทำแบบทดสอบชุดเดียวกัน และแปลผลคะแนนที่ได้ สรุปเป็นประสิทธิภาพของบทเรียน
สรุป แบบจำลอง ADDIE เป็นแบบจำลองตามจุดมุ่งหมายทั่วไปมีประโยชน์มากที่สุดสำหรับสร้างผลิตภัณฑ์การสอนและยังประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบโปรแกรมก็ได้
THE END ขอบคุณครับ