660 likes | 855 Views
การคลังสาธารณะ. การคลังสาธารณะ. การศึกษาเกี่ยวกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล. งบประมาณแผ่นดิน. งบประมาณเกี่ยวกับรายรับ - รายจ่ายของรัฐบาล ในระยะเวลา 1 ปี. ปีงบประมาณ. งบประมาณปี 2546. 1 ตุลาคม 2545 ถึง 30 กันยายน 2546. ประเภทของงบประมาณ.
E N D
การคลังสาธารณะ • การศึกษาเกี่ยวกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล
งบประมาณแผ่นดิน • งบประมาณเกี่ยวกับรายรับ - รายจ่ายของรัฐบาลในระยะเวลา 1 ปี
ปีงบประมาณ งบประมาณปี 2546 1 ตุลาคม 2545 ถึง 30 กันยายน 2546
ประเภทของงบประมาณ : งบประมาณที่เป็นรายได้ของรัฐรวมกันแล้วเท่ากับรายจ่ายของรัฐพอดี • งบประมาณสมดุล(Balance Budget) • งบประมาณไม่สมดุล(Unbalance Budget) : งบประมาณที่เป็นรายได้ของรัฐรวมกันแล้วไม่เท่ากับรายจ่ายของรัฐพอดี
งบประมาณไม่สมดุล(Unbalance Budget) ถ้ารายได้ > รายจ่ายเรียกว่า "งบประมาณเกินดุล" ถ้ารายได้ < รายจ่ายเรียกว่า "งบประมาณขาดดุล"
ดุลงบประมาณของประเทศไทยดุลงบประมาณของประเทศไทย หน่วย : ล้านบาท ที่มา : กรมบัญชีกลาง
งบประมาณรายรับ : การประมาณการของรัฐบาลว่าจะมีรายรับทั้งหมดเท่าใดในระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ งบประมาณรายรับประกอบด้วย • รายได้ • เงินกู้ • เงินคงคลัง
รายได้ • รายได้จากภาษีอากร • รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ • รายได้จากรัฐพาณิชย์ • รายได้อื่นๆ
เมื่อรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่ายเมื่อรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย เงินกู้ • เงินที่รัฐบาลกู้มาใช้จ่ายจากแหล่งต่างๆทั้งภายในและภายนอกประเทศ • หนี้สาธารณะ • หนี้ภายในประเทศ, หนี้ภายนอกประเทศ • หนี้ระยะสั้น, ระยะปานกลาง, ระยะยาว
หนี้สาธารณะคงค้าง หน่วย : พันล้านบาท
หนี้สาธารณะคงค้าง (ต่อ) หน่วย : พันล้านบาท
หนี้สาธารณะคงค้าง (ต่อ) หน่วย : พันล้านบาท ที่มา : กระทรวงกรคลัง
เงินคงคลัง • เงินที่เหลือจากการใช้จ่ายในปีก่อนๆซึ่งรัฐบาลเก็บสะสมไว้และสามารถนำมาใช้ในปีที่มีรายจ่ายสูงกว่ารายได้
ประมาณการรายรับ หน่วย : ล้านบาท
รายได้จากภาษีอากร • ภาษีคือเงินที่ประชาชนถูกบังคับเก็บจากรัฐบาล เพื่อนำไปใช้จ่ายในการดำเนินกิจการของรัฐ • แยกได้ 2 ประเภท คือ • ภาษีทางตรง • ภาษีทางอ้อม
ภาษีทางตรง : ภาษีที่ผู้เสียภาษีตามกฎหมายจะต้องรับภาระภาษีไว้เอง โดยจะผลักไปให้ผู้อื่นได้ยาก : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาภาษีเงินได้นิติบุคคลภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีที่ดินภาษีมรดกเป็นต้น
ภาษีทางอ้อม : ภาษีที่ผู้เสียภาษีตามกฎหมายสามารถผลักภาระภาษีให้ผู้อื่นได้ง่าย : ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิตภาษีศุลกากร ภาษีสินค้าขาเข้า – ขาออกเป็นต้น
อัตราภาษี • อัตราคงที่(proportionalrate) • อัตราก้าวหน้า(progressive rate ) • อัตราถอยหลัง( regressive rate )
อัตราภาษีแบบคงที่ ( proportional rate) : อัตราภาษีที่จัดเก็บในอัตราเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงขนาดของฐานภาษี : ภาษีมูลค่าเพิ่ม
อัตราภาษีแบบก้าวหน้า(progressive rate ) : อัตราภาษีที่จัดเก็บหลายอัตราแต่อัตราภาษีจะสูงขึ้นเมื่อฐานภาษีขยายใหญ่ขึ้น : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
อัตราภาษีแบบถอยหลัง ( regressive rate ) : อัตราภาษีที่จัดเก็บหลายอัตราแต่อัตราภาษีจะลดลงเมื่อฐานภาษีขยายใหญ่ขึ้น : ภาษีสรรพสามิต
อัตราคงที่ อัตราก้าวหน้า อัตราถอยหลัง
หลักในการจัดเก็บภาษี • หลักความเป็นธรรม ( equity ) • หลักความแน่นอน( certainty ) • หลักความสะดวก( convenience ) • หลักประหยัด( economy )
วัตถุประสงค์ของการเก็บภาษีอากรวัตถุประสงค์ของการเก็บภาษีอากร • เพื่อหารายได้ • เพื่อการควบคุม • เพื่อการกระจายรายได้ • เพื่อการชำระหนี้ของรัฐ • เพื่อเป็นเครื่องมือในนโยบายทางธุรกิจ • เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
งบประมาณทางด้านรายจ่ายงบประมาณทางด้านรายจ่าย
เปรียบเทียบงบประมาณรายจ่ายกับ GDP หน่วย : ล้านบาท ที่มา : สำนักงบประมาณ
การจำแนกรายจ่ายตามลักษณะงานการจำแนกรายจ่ายตามลักษณะงาน : การจำแนกงบประมาณรายจ่ายออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะงานที่รัฐจะดำเนินการในแต่ละด้าน
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะงานงบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะงาน หน่วย : ล้านบาท ที่มา : สำนักงบประมาณ
การจำแนกรายจ่ายตามลักษณะเศรษฐกิจการจำแนกรายจ่ายตามลักษณะเศรษฐกิจ : การจำแนกงบประมาณรายจ่ายออกเพื่อแสดงให้เห็นผลทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นจากการใช้จ่ายเงินของรัฐบาล : รายจ่ายเพื่อการลงทุน รายจ่ายประจำ และรายจ่ายในการชำระหนี้เงินกู้
รายจ่ายเพื่อการลงทุน • รายจ่ายเพื่อสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจและรายจ่ายเพื่อการได้มาซึ่งครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง • รายจ่ายประจำ • รายจ่ายเพื่อการบริหารงานประจำเงินรายจ่ายประเภทเงินเดือนค่าจ้างและรายจ่ายเพื่อสวัสดิการแก่ข้าราชการ
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจงบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจ หน่วย : ล้านบาท ที่มา : สำนักงบประมาณ
การจำแนกรายจ่ายตามส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจการจำแนกรายจ่ายตามส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ : รายจ่ายของหน่วยงานต่างๆ ของประเทศ
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวงงบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง หน่วย : ล้านบาท
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง(ต่อ)งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง(ต่อ) หน่วย : ล้านบาท
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง(ต่อ)งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง(ต่อ) หน่วย : ล้านบาท ที่มา : สำนักงบประมาณ
การจำแนกรายจ่ายตามแผนงานการจำแนกรายจ่ายตามแผนงาน : การจำแนกรายจ่ายตามแผนงานด้านต่างๆ ของรัฐบาล
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามแผนงานงบประมาณรายจ่ายจำแนกตามแผนงาน หน่วย : ล้านบาท
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามแผนงาน (ต่อ) หน่วย : ล้านบาท
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามแผนงาน (ต่อ) หน่วย : ล้านบาท ที่มา : สำนักงบประมาณ
นโยบายการคลัง • นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการจัดหารายได้การใช้จ่าย และการบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม รวมทั้งให้มีผลต่อการเร่งรัดความเจริญทางเศรษฐกิจและระดับการจ้างงานของประเทศ รวมไปถึงเพื่อส่งเสริมให้มีการกระจายรายได้ให้เป็นธรรมยิ่งขึ้น
นโยบายการคลัง แบบขยายตัว แบบหดตัว เครื่องมือของนโยบายการคลัง แบบตั้งใจ แบบอัตโนมัติ ด้านรายได้ ภาษีอัตราก้าวหน้า ด้านรายจ่าย เงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน
ลูกโป่งGDP แฟบ(เศรษฐกิจตกต่ำ) ลูกโป่งGDP ตึงมาก(เศรษฐกิจขยายตัวมากเกินไป) เป่าลมเข้าไปในลูกโป่ง ปล่อยลมออกจากลูกโป่ง ลูกโป่งGDP จะโตขึ้น ลูกโป่งGDP จะแฟบลง ลูกโป่งสวยพอดี ลูกโป่งสวยพอดี
ลูกโป่งGDP แฟบ เป่าลมเข้า ปล่อยลมออก GDP = C + I + G + ( X - M ) ลูกโป่งGDP ตึงมาก GDP = C + I + G + ( X - M )
เครื่องมือของนโยบายการคลังแบบตั้งใจเครื่องมือของนโยบายการคลังแบบตั้งใจ
ทางด้านรายได้หรือการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีทางด้านรายได้หรือการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี ลดอัตราภาษี ลูกโป่งGDP แฟบ GDP = C + I + G + ( X - M ) เพิ่มอัตราภาษี ลูกโป่งGDP ตึงมาก GDP = C + I + G + ( X - M )
ลดอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาลดอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา รายได้สุทธิส่วนบุคคล (DI) เพิ่มขึ้น รายจ่ายเพื่อบริโภคสูงขึ้น (C )
ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล รายได้กลุ่มธุรกิจสูงขึ้น รายจ่ายเพื่อการลงทุนสูงขึ้น (I )
ลดภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม รายจ่ายเพื่อการซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น ความต้องการซื้อสินค้าเพิ่มขึ้น GDP เพิ่มขึ้น
ทางด้านรายจ่ายหรือการเปลี่ยนแปลงปริมาณการใช้จ่ายของรัฐบาลทางด้านรายจ่ายหรือการเปลี่ยนแปลงปริมาณการใช้จ่ายของรัฐบาล การใช้จ่ายของรัฐบาล G G ในรายได้ประชาชาติ ไม่รวมเงินโอนและเงินช่วยเหลือ การใช้จ่ายของรัฐบาลในที่นี้จะรวมถึงเงินโอนและเงินช่วยเหลือ