1 / 22

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี. ปัญหาของสตรีในปัจจุบัน. ความไม่เสมอภาคทางเพศ และขาดการยอมรับทางสังคม. กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีฯ. ขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพ/การงาน/อาชีพ. กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีฯ. ขาดโอกาสทางสังคม การเข้าถึงสวัสดิการ/การศึกษา. กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีฯ. ปัญหาความรุนแรงต่อเด็กและสตรี.

Download Presentation

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

  2. ปัญหาของสตรีในปัจจุบันปัญหาของสตรีในปัจจุบัน ความไม่เสมอภาคทางเพศ และขาดการยอมรับทางสังคม กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีฯ ขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพ/การงาน/อาชีพ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีฯ ขาดโอกาสทางสังคม การเข้าถึงสวัสดิการ/การศึกษา กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีฯ ปัญหาความรุนแรงต่อเด็กและสตรี กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ปัญหาการค้าหญิงและเด็ก กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ปัญหาความปลอดภัย กระทรวงคมนาคม ปัญหาสุขภาพผู้หญิง กระทรวงสาธารณสุข

  3. การสร้างโอกาสในการเข้าถึงการสร้างโอกาสในการเข้าถึง แหล่งทุนพัฒนาบทบาทสตรี ยุทธศาสตร์ ที่ 1 การพัฒนาโอกาสในการงานและอาชีพ การพัฒนาศักยภาพ การเพิ่มบทบาท การสร้างเครือข่าย และภาวะผู้นำ ยุทธศาสตร์ ที่ 2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาบทบาทสตรี

  4. การเฝ้าระวังและดูแลปัญหาของสตรีช่วยเหลือเยียวยาสตรีการเฝ้าระวังและดูแลปัญหาของสตรีช่วยเหลือเยียวยาสตรี ยุทธศาสตร์ ที่ 3 การรณรงค์ให้สังคมเข้าใจปัญหาสตรี ในทุกมิติ ยุทธศาสตร์ ที่ 4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาบทบาทสตรี

  5. กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี วิสัยทัศน์ “สร้างสรรค์พลังสตรี ให้เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ”

  6. วัตถุประสงค์ 1. เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนแบบดอกเบี้ยต่ำหรือปลอดดอกเบี้ย ในการสร้างโอกาสให้สตรีเข้าถึงแหล่งทุนสำหรับการลงทุน เพื่อพัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ หรือสำหรับการส่งเสริม และพัฒนาไปสู่การสร้างสวัสดิภาพหรือสวัสดิการให้แก่สตรี 2. เป็นแหล่งเงินทุนเพื่อการพัฒนาศักยภาพสตรี และเครือข่ายสตรี การเฝ้าระวังและดูแลปัญหาของสตรี ตลอดจนการช่วยเหลือ เยียวยาสตรีที่ประสบปัญหาในทุกรูปแบบ การรณรงค์ให้สังคม เข้าใจปัญหาสตรีในทุกมิติ และการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิสตรี

  7. วัตถุประสงค์ 3. เป็นแหล่งเงินทุนเพื่อการส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรม ในการพัฒนาบทบาทสตรี และแก้ไขปัญหาสตรีขององค์กรต่าง ๆ การสร้างภาวะผู้นำ การพัฒนาองค์ความรู้ คุณภาพชีวิต รวมทั้ง เสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของสตรี 4. เป็นแหล่งเงินทุนเพื่อการสนับสนุนโครงการอื่นๆ ที่เป็นการแก้ไข ปัญหาและพัฒนาสตรี ตามที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาท สตรีแห่งชาติ พิจารณาเห็นสมควร

  8. การจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จัดสรรให้กับทุกจังหวัด โดยใช้หลักเกณฑ์การจัดสรร ตามช่วงชั้นประชากรของจังหวัด

  9. มหาดไทย สาธารณสุข พัฒนาสังคมฯ ศึกษาธิการ เกษตรฯ สำนักนายกฯ แรงงาน การดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในชั้นต้น เป็นการดำเนินงานร่วม 7 กระทรวง

  10. มหาดไทย สาธารณสุข พัฒนาสังคมฯ ศึกษาธิการ เกษตรฯ สำนักนายกฯ แรงงาน การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุนฯ ลงทะเบียนสมาชิกกองทุนฯ ทั่วประเทศ (สตรี และองค์กรสตรี)

  11. โครงสร้างสมาชิกและคณะกรรมการกองทุนฯ ส่วนภูมิภาค จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบล ทุกตำบล เพื่อเลือก คณะกรรมการกองทุนฯ จังหวัด (ตามจำนวนอำเภอ) แลผู้ทรงคุณวุฒิ ที่คณะกรรมการฯ ชาติ แต่งตั้ง 5 คน คณะกรรมการติดตามและสนับสนุน การดำเนินงานกองทุนฯ จังหวัด ประกอบด้วย 1. ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน 2. ผู้แทนจากภาคราชการ ภาคเอกชน และผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละจังหวัด ในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน เป็นกรรมการ 15 คน 3. พัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัด เป็นเลขานุการ 4. เจ้าหน้าที่กองทุนพัฒนาบทบาท สตรีในจังหวัด เป็นผู้ช่วย เลขานุการ ผู้แทน 7 กระทรวง ในจังหวัด เป็น สักขีพยาน สมาชิกที่ลงทะเบียนในแต่ละหมู่บ้าน เลือกกันเอง เพื่อเลือก คณะกรรมการกองทุนฯตำบล จากหมู่บ้านละ 1 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ ที่คณะกรรมการฯ จังหวัด แต่งตั้ง 5 คน สตรีในหมู่บ้านลงทะเบียนสมาชิกกองทุนฯ ในหมู่บ้าน

  12. โครงสร้างสมาชิกและคณะกรรมการกองทุนฯ ใน กทม. เลือกตั้งจากสมาชิกกองทุนฯ ในกรุงเทพฯ จำนวน 12 คน เพื่อเป็นคณะกรรมการ และ มีผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะกรรมการฯ ชาติ แต่งตั้ง 5 คน คณะกรรมการประเมินผล ในคณะกรรมการกองทุนฯ แห่งชาติเป็นคณะกรรมการ ติดตามและสนับสนุนการ ดำเนินงานกองทุนฯ ใน กรุงเทพมหานคร ผู้แทน 7 กระทรวง ในจังหวัด เป็น สักขีพยาน สตรีในกรุงเทพมหานคร ลงทะเบียนสมาชิกกองทุนฯ

  13. กลไกการบริหารงบประมาณกองทุนฯกลไกการบริหารงบประมาณกองทุนฯ Click to add Title Click to add Title • บริหารงบประมาณแผ่นดินประจำปี • เพื่อใช้ในการขับเคลื่อน และพัฒนางานโดย • ผ่าน สนง.กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ • กำหนดนโยบายและกรอบยุทธศาสตร์ • เพื่อกำกับการทำงานและติดตาม/ตรวจสอบ • การพิจารณาอนุมัติโครงการ • ที่อยู่นอกเหนือกรอบการพิจารณาของจังหวัด/ • ตำบล คณะกรรมการ กองทุนฯ ชาติ Click to add Title Click to add Title

  14. กลไกการบริหารงบประมาณกองทุนฯกลไกการบริหารงบประมาณกองทุนฯ • พิจารณาโครงการที่เกี่ยวกับเงินทุนหมุนเวียน เพื่อการพัฒนาอาชีพสร้างงาน สร้างรายได้ • พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม • การพัฒนาศักยภาพสตรี และเครือข่ายสตรี • พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม • พัฒนาบทบาทสตรี และแก้ไขปัญหาสตรีที่ • ประสบปัญหา • (ตามกรอบยุทธศาสตร์ฯ ชาติ กำหนด) Click to add Title Click to add Title คณะกรรมการ กองทุนฯ จังหวัด Click to add Title Click to add Title • พิจารณาโครงการที่กลุ่มสตรีขอรับการสนับสนุน • และนำเสนอคณะกรรมการกองทุนฯ จังหวัดพิจารณา คณะกรรมการ กองทุนฯ ตำบล

  15. กลไกการบริหารงบประมาณกองทุนฯกลไกการบริหารงบประมาณกองทุนฯ Click to add Title Click to add Title • พิจารณาโครงการที่เกี่ยวกับเงินทุนหมุนเวียน เพื่อการพัฒนาอาชีพสร้างงาน สร้างรายได้ • พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม • การพัฒนาศักยภาพสตรี และเครือข่ายสตรี • พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม • พัฒนาบทบาทสตรี และแก้ไขปัญหาสตรีที่ • ประสบปัญหา • (ตามกรอบยุทธศาสตร์ฯ ชาติ กำหนด) คณะกรรมการ กองทุนฯ กทม. Click to add Title Click to add Title

  16. กำหนดการมอบนโยบายและประชาคม กทม. และ 4 ภูมิภาค

  17. กำหนดการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกำหนดการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 18 ก.พ. - 31 มี.ค. 2555 รับลงทะเบียนสมาชิก กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ส่วนภูมิภาค โดย กศน.ตำบล-อำเภอ-จังหวัด / พัฒนาการตำบล-อำเภอ-จังหวัด กรุงเทพมหานคร โดย กศน.เขต / ศูนย์คุ้มครองสวัสดิภาพชุมชนเขต และทาง website ที่ http://womenfund.thaigov.go.th

  18. กำหนดการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกำหนดการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 30 พ.ค. 2555 จัดประชุมชี้แจงข้าราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับ การคัดเลือก / เลือกตั้งคณะกรรมการฯ 1 มิ.ย. 2555 ประกาศรายชื่อสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในทั่วประเทศ (ผู้ลงทะเบียนฯ ก่อน 1 เม.ย.2555) เพื่อมีสิทธิสมัครเป็นกรรมการฯ 4-7 มิ.ย. 2555 ให้สมาชิกกองทุนฯ ที่ลงทะเบียนฯ ก่อน 1 เม.ย.2555 ตรวจสอบ และแจ้งขอเพิ่มรายชื่อ ในกรณีที่ตรวจไม่พบ

  19. กำหนดการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกำหนดการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 8 มิ.ย. 2555 กศน. ส่งรายชื่อสมาชิกกองทุนฯ ให้ทุกอำเภอ (ส่วนภูมิภาค) และสำนักคุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน (ส่วนของกรุงเทพฯ) เพื่อประกาศรายชื่อสมาชิกฯ เพิ่มเติม 11-15 มิ.ย. 2555 ประกาศรับสมัครสมาชิกกองทุนฯ ที่ประสงค์จะสมัคร เพื่อคัดเลือกเป็นคณะกรรมการกองทุนฯ ในส่วนของ พื้นที่กรุงเทพมหานคร

  20. กำหนดการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกำหนดการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 17 มิ.ย. 2555 จัดให้มีเวทีประชาคมคัดเลือกคณะกรรมการกองทุนฯ ระดับตำบล ณ หมู่บ้าน / ชุมชนทุกแห่ง และจัดให้มีการเลือกตั้งคณะกรรมการกองทุนฯ ในระดับ เทศบาลเมือง / นคร / เมืองพัทยา ณ ท้องถิ่นนั้น 20 มิ.ย. 2555 - กรรมการฯ ที่ได้รับคัดเลือกจากหมู่บ้าน / ชุมชน คัดเลือกให้ได้กรรมการฯ ระดับตำบล ๆ ละ 1 คน - กรรมการฯ ที่ได้รับคัดเลือกจากชุมชนในท้องถิ่น คัดเลือกให้ได้กรรมการฯ ในพื้นที่เทศบาลเมือง / นคร / เมืองพัทยา คัดเลือกกรรมการฯ (ท้องถิ่น) 1 คน

  21. กำหนดการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกำหนดการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 24 มิ.ย. 2555 ส่วนภูมิภาค ในทุกอำเภอ จัดให้มีการคัดเลือกคณะกรรมการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ที่ได้รับการคัดเลือกมาแล้ว จากระดับตำบล และในพื้นที่เทศบาลเมือง / นคร / เมืองพัทยา โดยคัดเลือกกรรมการ ๑ คน ต่อ ๑ อำเภอ เพื่อเข้าเป็นคณะกรรมการกองทุนพัฒนาฯ จังหวัด กรุงเทพมหานคร สำนักคุ้มครองสวัสดิภาพชุมชน จัดให้มีการคัดเลือก คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร จำนวน ๑๒ คน

  22. ขอบคุณค่ะ

More Related