250 likes | 512 Views
นโยบายการคลังกับเศรษฐกิจ ของประเทศ บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง 7 กรกฎาคม 2554. บทบาท ภาครัฐในการบริหารจัดการเศรษฐกิจ. 1. นโยบายการคลัง 1.1 ฐานะการคลัง 1.2 ข้อเสนอนโยบายเศรษฐกิจภายใต้รัฐบาลใหม่
E N D
นโยบายการคลังกับเศรษฐกิจนโยบายการคลังกับเศรษฐกิจ ของประเทศ บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง 7 กรกฎาคม 2554
บทบาทภาครัฐในการบริหารจัดการเศรษฐกิจบทบาทภาครัฐในการบริหารจัดการเศรษฐกิจ 1. นโยบายการคลัง 1.1 ฐานะการคลัง 1.2 ข้อเสนอนโยบายเศรษฐกิจภายใต้รัฐบาลใหม่ 1.3 สิทธิประโยชน์ทางภาษี BOI 2. นโยบายการเงิน 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
กรอบวงเงินงบประมาณ e: ตัวเลขเบื้องต้น
นโยบายขาดดุลต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจนโยบายขาดดุลต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจ
สัดส่วน Debt/DGP ของประเทศไทยอยู่ในระดับต่ำ
1.2 ข้อเสนอนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดใหม่
1.3 สิทธิประโยชน์ทางภาษี BOI
อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลของประเทศไทยอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลของประเทศไทย หมายเหตุ : * มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ (ยกเว้นเงินค่าลงทะเบียน หรือค่าบำรุงที่ได้รับจากสมาชิก หรือเงิน หรือทรัพย์สินที่ได้รับจากการรับบริจาค หรือจากการให้โดยเสน่หา) เก็บภาษีร้อยละ 10 ยกเว้นรายได้ส่วนที่เป็นเงินได้ พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) เก็บร้อยละ 2 **บริษัทต่างประเทศที่ไม่ได้ประกอบกิจการในประเทศไทยที่ได้รับเงินได้ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย เก็บภาษีร้อยละ 15 ยกเว้นเงินได้ที่เป็นเงินปันผล เก็บภาษีร้อยละ 10 กรณีบริษัทที่จัดตั้งตามกฎหมายไทยจำหน่ายเงินกำไรออกจากประเทศ เก็บภาษีร้อยละ 10
นโยบายภาษีเพื่อส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา (R&D) • 1.หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นของทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับ R&D • ประโยชน์ที่ผู้ประกอบการจะได้รับ: • หักค่าสึกหรอร้อยละ 40 ของมูลค่าต้นทุน • เสียภาษีลดลงในปีแรก ซึ่งเป็ฯการช่วยเพิ่มงนหมุนเวียน (cash flow) • 2. ยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้ของบริษัท และห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เป็นจำนวนร้อยละ 10 ของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าจ้างสำหรับ R&D ตามที่กำหนด • ประโยชน์ที่ผู้ประกอบการจะได้รับ: • ผู้ประกอบการสามารถหักรายจ่ายสำหรับค่าจ้าง เพื่อ R&D ได้ตามปกติและยังได้รับการยกเว้นเงินได้เป็นจำนวนร้อยละ 100 ของรายจ่าย R&D
Import duty reductions or exemptions on machinery and raw materials Corporate income tax holidays up to 8 years Additional 50% reductions of corporate income tax for 5 years Double deduction of public utility costs Deductions for infrastructure construction/installation costs สิทธิประโยชน์ BOI Tax Incentives Non Tax Incentives • Land ownership rights for foreign investors • Permission to bring in foreign experts and technicians • Work permit & visa facilitation • One-Stop-Shop: Visas & Work Permits are issued in 3 hours Source: Thailand Board of Investment
BOI Zoning and Incentives Corporate Income Tax Exemption Zone-Based Incentives: • Zone 1 • Zone 2 • Zone 3 Lower incentives Higher incentives * นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉะบังและระยองได้รับ 8 ปี Source: Thailand Board of Investment
Inflation Targeting Monetary Policy Core inflation targeting within the range of 0.5-3.0 Core inflation targeting within the range of 0-3.5
3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN EconomicCommunity:AEC) ASEAN (Associationof South East Asian Nations) 1967(2510) ก่อตั้งASEAN 1967(2510)ก่อตั้งโดย 5 ประเทศ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ 1984(2527) ขยายสมาชิก บรูไน 1995(2538) ขยายสมาชิก เวียดนาม 1997(2540) ขยายสมาชิก ลาว พม่า 1999(2542) ขยายสมาชิก กัมพูชา รวมสมาชิก ณ ปัจจุบัน 10 ประเทศประชากร 580 ล้านคน และกำลังมุ่งสู่ ASEANEconomicCommunityภายในปี 2015(2558) ASEAN - 6 CLMV
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN EconomicCommunity:AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี AEC นโยบายการแข่งขัน ไปลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 (2015) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN EconomicCommunity:AEC ) ตัวอย่าง แผนงานในพิมพ์เขียว AEC : การลดภาษีนำเข้าสินค้า - แก้ไขปรับปรุง AFTA CEPT ให้เป็น ความตกลงสินค้าสมบูรณ์แบบ (ATIGA: ASEAN Trade In Goods Agreement) - ลดภาษีนำเข้าเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536 อาเซียน-6 ลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียนเป็น 0% CLMVลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียนเป็น 0% 1 ม.ค. 2010 1 ม.ค. 2015 ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว(Sensitive List ) ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้องไม่เกิน 5% และสินค้าในรายการอ่อนไหวสูง(Highly Sensitive List) ภาษีสุดท้ายเป็นร้อยละ 20 สินค้าอ่อนไหวสูง : ข้าว และน้ำตาล ประเทศที่ขอไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์
โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ SMEs ภาคการผลิตเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โครงการความร่วมมือระหว่าง วัตถุประสงค์โครงการ 1. เพิ่มความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความจำเป็นของการเข้าสู่ AEC 2. เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการ SMEs ภาคการผลิตใน 30 รายสาขา (10 คลัสเตอร์) และ 5 ภูมิภาค (10 จังหวัด) 3. จัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนให้แก่ภาครัฐ
โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ SMEs ภาคการผลิตเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) แผนการดำเนินการ จัดประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) ใน 30 กลุ่มอุตสาหกรรมที่เป็น SMEs (10 คลัสเตอร์) และ 5 ภูมิภาค (10 จังหวัด)โดยมีเป้าหมาย 1,000 ราย เพื่อเก็บข้อมูลในการวิเคราะห์ประเด็นต่างๆ อาทิ ผลกระทบทั้งด้านบวกและลบ รวมไปถึงความท้าทายและโอกาสของผู้ประกอบการเป็นต้น