840 likes | 1.1k Views
งานสุขภาพจิต. กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สุขภาพจิตและยาเสพติด. นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2551. สถานการณ์ Birth Asphyxia จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2545 - 2550. สถานการณ์ Birth Asphyxia จังหวัดยโสธร แยกรายอำเภอ
E N D
งานสุขภาพจิต กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สุขภาพจิตและยาเสพติด
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2551
สถานการณ์ Birth Asphyxia จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2545 - 2550
สถานการณ์ Birth Asphyxia จังหวัดยโสธร แยกรายอำเภอ ปี 2550 = 17.71 : 1,000 การเกิดมีชีพ(เป้าหมาย ไม่เกิน 30:1,000)
สถานการณ์ Low Birth Weightจังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2545 - 2550
สถานการณ์ Low Birth Weight จังหวัดยโสธร แยกรายอำเภอ ปี 2550 = ร้อยละ 10.36 เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 7
อัตราตายปริกำเนิด จังหวัดยโสธรปีงบประมาณ 2545 – 2550 เป้าหมายไม่เกิน 15 : 1,000 การเกิดมีชีพ
อัตรามารดาตายจากการตั้งครรภ์ การคลอด จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2545-2550 เป้าหมายไม่เกิน 36 : 100,000 การเกิดมีชีพ
อัตราการมีบุตรคนแรกของหญิงอายุ < 20 ปี จังหวัดยโสธร ปี 2545 – 2550 เป้าหมายไม่เกินร้อยละ10
อัตราการมีบุตรคนแรกของหญิงอายุ < 20 ปี จังหวัดยโสธร แยกรายอำเภอ ปีงบประมาณ 2550
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
วัตถุประสงค์ 1. บูรณาการ และเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการอนามัยแม่และเด็ก ในสถานบริการสาธารณสุข ครอบครัว และชุมชน (Integrated Care) 2. พัฒนาองค์ความรู้ และระบบการบริการ อนามัยแม่และเด็กที่มีมาตรฐาน และอย่างต่อเนื่อง (Continuum of Care)
เป้าหมาย 1.โรงพยาบาลทุกแห่งเข้าร่วมโครงการโรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว 2. โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับทองอย่างน้อย จังหวัดละ 2 แห่ง
ระบบบริการคุณภาพ โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด/หลังคลอด คลินิกสุขภาพเด็กดี ฝากครรภ์คุณภาพ - ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ - คัดกรอง Thal / HIV โรงเรียนพ่อแม่ อาหาร และโภชนาการ ทันตสุขภาพ • ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว รพ.ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย รพ.สายสัมพันธ์แม่-ลูก โรงเรียนพ่อแม่ คลินิกนมแม่ คัดกรองทารกแรกเกิด - Thyroid / PKU ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว WCC คุณภาพ โรงเรียนพ่อแม่ ตรวจพัฒนาการเด็ก โภชนาการ นิทาน ของเล่น ทันตสุขภาพ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ชุมชน ชมรมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ / ชมรมแม่อาสา/ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว • ผลลัพธ์ ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 30 ต่อพันการเกิดมีชีพ • ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 7 หรือลดลงจากฐานข้อมูลเดิม ร้อยละ 0.5 ต่อปี เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 25 หรือเพิ่มขึ้นจากฐานข้อมูลเดิม ร้อยละ 2.5 ต่อปี เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว เกณฑ์ประเมิน เข้าร่วมโครงการ บริการอนามัยแม่และเด็ก ระดับทองแดง กระบวนการคุณภาพ และระบบบริการคุณภาพ ระดับเงิน ระดับทองแดง และ การมีส่วนร่วมของชุมชน ระดับทอง ระดับเงิน และผลลัพธ์บริการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัย ตัวชี้วัดหลัก เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90 ตัวชี้วัดรอง 1. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 Wks.ร้อยละ 50 2. คลินิกเพื่อลูกกินนมแม่ 6 เดือน รพท./รพช. ร้อยละ 60/35 3. เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเล่านิทานจากพ่อ/แม่/ญาติ ร้อยละ 35 4. รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์กระบวนการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 85
ตัวชี้วัดรอง (ต่อ) 5.รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์โรงเรียนพ่อแม่ รพท./รพช. ร้อยละ 60 / 50 6. รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลลูก เกิดรอดแม่ปลอดภัย ร้อยละ 90 7.MCH Board มีการดำเนินงานตามเกณฑ์ ร้อยละ 100
เป้าหมาย/ตัวชี้วัดงาน MCH ปี 2551 1.อัตรามารดาตายไม่เกิน 36:100,000การเกิดมีชีพ2. อัตราตายปริกำเนิดของทารกไม่เกิน 15 :1,000 การเกิด3. อัตราฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์12 Wks. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 4. อัตราฝากครรภ์ครบ4 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 905. อัตราการคลอดในสถานบริการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 .
6..รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านการประเมินเป็นรพ.ลูกเกิดรอด – แม่ปลอดภัย ร้อยละ 907.รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์โรงเรียนพ่อแม่รพท. ร้อยละ 60 รพช.ร้อยละ508.รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ คลินิกนมแม่รพท.ร้อยละ60 รพช.ร้อยละ 359. MCH Boardมีการดำเนินงานตามเกณฑ์ ร้อยละ10010. เด็ก 0-5ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 9011.เด็ก 0-5ปี ได้รับการเล่านิทานจากพ่อ/แม่/ญาติ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ร้อยละ 35
ผลการตรวจคัดกรอง TSH จากกระดาษซับเลือด ที่ระดับ TSH < 5 mU/L ปี 2550 ( ต.ค. 49- ก.ย. 50)
ตัวชี้วัดปี2551 เด็กแรกเกิดอายุ 2วันขึ้นไปมีปริมาณThyroid Stimulating Hormone ( TSH )ในเลือดจากการเจาะเลือดส้นเท้าน้อยกว่า 5มล.ยูนิต/ลิตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนแห่งชาติโครงการพระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตัวชี้วัด ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ (ไอโอดีน ≥ 30 ppm) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
จำนวนและร้อยละของเด็ก 0-5 ปีในศูนย์เด็กเล็กมีพัฒนาการสมวัยปี 50
ตัวชี้วัดปี2551 1.ตำบลมีศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่อย่างน้อย 1แห่งต่อ1 ตำบล - ศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับพื้นฐานร้อยละ 90 - ศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับดีและดีมากร้อยละ 40 2.ร้อยละ 90ของเด็ก 0-5ปี ในศูนย์เด็กเล็กมีพัฒนาการสมวัย(เพื่อพัฒนา IQ และ EQ ให้ได้มาตรฐานสากล )
จำนวนและร้อยละเด็กอายุ 0-5ปี มีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์อายุ น้ำหนักปี 50
ตัวชี้วัด2551 เด็กอายุ 0-5ปี มีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์ อายุ น้ำหนัก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
เมตะบอลิก ซินโดรม (อ้วนลงพุง) กลุ่มของปัจจัยเสี่ยง ต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด ซึ่งเป็นผลจาก ไขมันในช่องท้องเกิน
การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังตามเกณฑ์ของคนไทยการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังตามเกณฑ์ของคนไทย อายุ 6-14 ปี และ 15 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2546 - 2549 ร้อยละ พ.ศ. เกณฑ์ : ระดับปานกลาง = เคลื่อนไหวออกแรง / ออกกำลัง วันละ 20 นาที สัปดาห์ละ 3 วัน ระดับหนัก = เคลื่อนไหวออกแรง / ออกกำลัง วันละ 30นาที สัปดาห์ละ 5วัน แหล่งข้อมูล : กองโภชนาการ กรมอนามัย 2550
ผลการวัดรอบเอวนักเรียน รร.มัธยมฯเขตเมืองปี 2550
ตัวชี้วัดปี2551 1.ร้อยละ80ของชมรมสร้างสุขภาพวัดรอบเอวปีละ 2 ครั้ง 2. ร้อยละ80ของรร.ส่งเสริมสุขภาพระดับชั้น ม. 4 - 6ในอำเภอเมืองวัดรอบเอวปีละ 2 ครั้ง 3.ร้อยละ 80 ของหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค ระดับจังหวัด เขตอำเภอเมืองวัดรอบเอวปีละ 2 ครั้ง
ตัวชี้วัดปี 2551 4.ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 90 ซม. ร้อยละ 85 5.ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 80 ซม. ร้อยละ 65
ตัวชี้วัดปี2551 4.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปมีการออกแรง/ เคลื่อนไหวร่างกาย และออกกำลังกายอย่างน้อย สัปดาห์ละ 30 วัน วันละอย่างน้อย 30 นาที ร้อยละ 79
มหกรรมรวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อพ่อมหกรรมรวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อพ่อ 27 พ.ย.2550 ณ สวนสาธาณะริมชี กิจกรรม - เดินรณรงค์สร้างสุขภาพ 4 มุมเมือง - ประกวดการเต้นแอโรบิคของชมรมสร้างสุขภาพ - สาธิตการออกกำลังกายของชมรมผู้สูงอายุ - นิทรรศการอาหารลดพิษลดโรค/อาหารเพื่อ สุขภาพ - รณรงค์วัดรอบเอว - อื่นๆ
ตัวชี้วัด • ร้อยละ 80 ของโรงเรียนทุกสังกัด • ผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ • ร้อยละ 40 ของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ • ผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับทอง
มีโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพประถมศึกษามีโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพประถมศึกษา • ขนาดเล็ก ระดับเพชรอำเภอละอย่างน้อย • 1 โรงเรียน • มีโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพประถมศึกษา • และขยายโอกาสขนาดใหญ่ ระดับเพชร • อำเภอละอย่างน้อย 1 โรงเรียน - มีโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพมัธยมศึกษา ระดับเพชร อำเภอละอย่างน้อย 1 โรงเรียน
ภาวะการคุมกำเนิด จังหวัดยโสธร ปี 2550 ตัวชี้วัด อัตราเพิ่มประชากรไม่เกินร้อยละ1
งานสุขภาพจิต งานสุขภาพจิต
อัตราพยายามฆ่าและฆ่าตัวตายสำเร็จ ปี 2546-2550 เป้าหมายปี50 ฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.8 /แสนประชากร
อัตราพยายามฆ่าและฆ่าตัวตายสำเร็จ ปี 2550 (ต.ค.49- ก.ย.50) จำนวนคน
งานสุขภาพจิต ตัวชี้วัดงานสุขภาพจิต ปี 2551
ตัวชี้วัด ปี2551 ระดับกระทรวง 1.อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่เกิน 6. 3ต่อแสนประชากร 2.ประชาชนสามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสมอย่างน้อยร้อยละ 70
ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด • 100 % ของสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ รพท./ • รพช./PCU./สอ. ต้องมีระบบการเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า • และเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย • 2.100%ของผู้ที่เคยพยายามฆ่าตัวตายได้รับการดูแลเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องและไม่กลับมาฆ่าตัวตายซ้ำ • 3.อัตราการฆ่าตัวตายแต่ไม่สำเร็จลดลงร้อยละ 10ของปีที่แล้ว
ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด 4.100%ของผู้ป่วยโรคจิตได้ขึ้นทะเบียนและได้รับการรักษาติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง 5.100%ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้ขึ้นทะเบียนและได้รับการรักษาและติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง 6.90 %ของกลุ่มเสี่ยง ( ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ติดสุราเรื้อรัง ผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์สูญเสีย-ผิดหวัง ผู้ที่อยู่ในช่วงการเปลี่ยนแปลงของชีวิต เช่น หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด วัยทอง วัยผู้สูงอายุ ) ได้รับการคัดกรองโรคซึมเศร้า
ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด 7.ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือผู้มีปัญหาสุขภาพจิต และจิตเวชในชุมชน 8.100%ของเด็กอายุ 1-6 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองออทิสติก 9.100 %ของเด็กออทิสติกได้ขึ้นทะเบียนและได้รับการดูแล 10.100% ของเด็กอายุ 3-5ปี ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการด้าน IQ และ EQ
ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด 11. 100% ของรพท. มีการพัฒนาศูนย์วิกฤตสุขภาพจิต. (MCC.)หรือ Mental health Crisis center และศูนย์พึ่งได้ (OSCC.) หรือOne Stop Crisis Center 12. 100%ของ รพช. มีการจัดตั้งศูนย์วิกฤตสุขภาพจิต. (MCC.) (และศูนย์พึ่งได้ ( OSCC. ) 13.95 % ของประชาชนที่อยู่ในภาวะวิกฤตสุขภาพจิตได้รับการ ดูแลช่วยเหลือที่ถูกต้องและทันเวลา 14. 95 % ของเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง ได้รับการดูแลช่วยเหลือ อย่างถูกต้องและทันเวลา
งานสุขภาพจิต แนวทางการดำเนินงาน สุขภาพจิต ปี 2551