460 likes | 785 Views
การเตรียมความพร้อม สู่การประกันคุณภาพภายนอกรอบ 3. หัวข้อการบรรยาย. 1. การประกันคุณภาพการศึกษา. กฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553. 2. การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม/กลุ่มตัว บ่งชี้และมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายใน 18มาตรฐาน. . 3. 4.
E N D
หัวข้อการบรรยาย 1 การประกันคุณภาพการศึกษา กฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 2 การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม/กลุ่มตัว บ่งชี้และมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายใน 18มาตรฐาน . 3 4 ระบบประกันคุณภาพการศึกษา P.R.C. ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมสู่การประเมิน คุณภาพภายนอกรอบ 3 5
คุณภาพที่จะถูกประเมิน?คุณภาพที่จะถูกประเมิน?
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 6 มาตราที่ 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 6 มาตราที่ 48ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 • กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา • จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาฯที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา • จัดระบบบริหารและสารสนเทศฯ • ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา • จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา • จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาฯ • จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน • จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๓๘ ครอบคลุมมาตรฐานที่ว่าด้วย • ผลการจัดการศึกษา • การบริหารจัดการศึกษา • การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • การประกันคุณภาพภายใน
คุณภาพการศึกษาของประเทศคุณภาพการศึกษาของประเทศ
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม : กลุ่มตัวบ่งชี้และมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายใน 18 มาตรฐาน
วัตถุประสงค์ของการประเมิน (วัตถุประสงค์เฉพาะ) เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการดำเนินงานของสถานศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา กรอบแนวทาง วิธีการที่ สมศ. กำหนด และสอดคล้องกับระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด 1 เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ช่วยสะท้อนความแตกต่างของแต่ละสถานศึกษาที่แสดงถึงอัตลักษณ์ รวมทั้งมาตรการส่งเสริมและการชี้นำสังคมของสถานศึกษา 2 เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยพิจารณาจากผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบมากกว่ากระบวนการ 3 5 เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง 4 เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีทิศทางที่สอดคล้องกันในการประเมินคุณภาพภายนอกกับการประเมินคุณภาพภายใน
เพื่อสร้างความร่วมมือและเป้าหมายร่วมกันระหว่างหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อเป็นการเชื่อมโยงการดำเนินงานสู่การพัฒนาคุณภาพร่วมกัน เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและเผยแพร่ผลการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน 7 6
คำนิยามของกลุ่มตัวบ่งชี้คำนิยามของกลุ่มตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน หมายถึง ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภายใต้ภารกิจของสถานศึกษา โดยกำหนดตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินบนพื้นฐานที่ทุกสถานศึกษาต้องมีและปฏิบัติได้ ซึ่งสามารถชี้ผลลัพธ์และผลกระทบได้ดี และมีความเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน (พัฒนามาจากรอบแรกและรอบสอง) กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ หมายถึง ตัวบ่งชี้ที่ประเมินผลผลิตตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา รวมถึงความสำเร็จตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละสถานศึกษา โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม หมายถึง ตัวบ่งชี้ที่มุ่งประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษาโดยสถานศึกษาเป็นผู้กำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อร่วมชี้แนะ ป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมตามนโยบายของรัฐ ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาและปัญหาสังคมที่เปลี่ยนไป โดยมีเป้าหมายที่แสดงถึงความเป็นผู้ช่วยเหลือสังคมและแก้ปัญหาสังคมของสถานศึกษา
กลุ่มตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุ่มตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กลุ่มตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ต่อ)
กลุ่มตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รูปแบบการประเมิน 1. การประเมินเชิงปริมาณได้แก่ ตัวบ่งชี้ ที่ 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2และ 6.2 2. การประเมินเชิงปริมาณและเชิงพัฒนาการได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1., 5.1 – 5. 8,และ 8 3. การประเมินเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 และ 2.2 4. การประเมินเชิงคุณภาพ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 6.1, 7, 8, 9, 10 และ12 5. การประเมินเชิงคุณภาพและการพิจารณาผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (Better) ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ 11
*** ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา ข้อที่ 1 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ( 2 คะแนน) 1) ด้านวิชาการ 17 ข้อ 2) ด้านงบประมาณ 22 ข้อ 3) ด้านการบริหารงานบุคคล 20 ข้อ 4) ด้านการบริหารทั่วไป 21 ข้อ ข้อที่ 2 ประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน14 ข้อ( 1 คะแนน) ข้อที่ 3 บรรยากาศและสภาพแวล้อม 3 ข้อ ( 1 คะแนน) ข้อที่ 4 ความยั่งยืนและต่อเนื่องของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา ( 1 คะแนน)
การรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา • สถานศึกษาระดับขั้นพื้นฐานที่จะได้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาของสมศ. ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554 – 2558) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจาก สมศ. จะต้องมีผลการประเมินคุณภาพภายนอกตามหลักเกณฑ์ที่ สมศ. กำหนด ดังนี้ • มีผลรวมคะแนนการประเมินคุณภาพภายนอกระดับสถานศึกษา ตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป • มีตัวบ่งชี้อย่างน้อย 10 ตัวบ่งชี้ จากทั้งหมด 12 ตัวบ่งชี้ ที่มีระดับคุณภาพแต่ละตัวบ่งชี้ตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป • ต้องไม่มีตัวบ่งชี้ใดอยู่ในระดับคุณภาพควรปรับปรุง หรือ ต้องปรับปรุง
โครงสร้างการบริหารงานประกันคุณภาพการศึกษาโครงสร้างการบริหารงานประกันคุณภาพการศึกษา
คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน
ขั้นตอนการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) กรณีตัวอย่างโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
ขั้นตอนการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) กรณีตัวอย่างโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
ขั้นตอนการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) กรณีตัวอย่างโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ขั้นตอนการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3(พ.ศ. 2554 – 2558) โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
ขั้นตอนการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) กรณีตัวอย่างโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ขั้นตอนการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3(พ.ศ. 2554 – 2558) **เน้นการพัฒนาคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นหลัก** โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
ขั้นตอนการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3(พ.ศ. 2554 – 2558) ขั้นตอนการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) กรณีตัวอย่างโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ขั้นตอนการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3(พ.ศ. 2554 – 2558) ขั้นตอนการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3(พ.ศ. 2554 – 2558) ขั้นตอนการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3(พ.ศ. 2554 – 2558) โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
ขั้นตอนการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) กรณีตัวอย่างโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
ขั้นตอนการเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) กรณีตัวอย่างโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
The Power of Teamwork 1.Share center point value 2.Put team first 3.Walk the talk 4.Maintain peak performance 5.Communicate 6.Prepare to win 7.Capitalize on synergy 8.Clarify procedures 9.Foster positve attitudes 10.Strive for perfection