350 likes | 465 Views
มุมมองทางวิชาการ FTA ไทย. ดร.สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 12 พฤศจิกายน 2550. 1. โลกการค้าแบบ FTA: ไทยอยู่ตรงไหน?. การเจรจาการค้าโลก ( WTO ) ในรอบโดฮา ค่อนข้างจะไร้ผล แต่พยายามสรุปให้ทัน ก่อนการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯในปีหน้า.
E N D
มุมมองทางวิชาการ FTA ไทย ดร.สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 12 พฤศจิกายน 2550
1. โลกการค้าแบบ FTA: ไทยอยู่ตรงไหน?
การเจรจาการค้าโลก (WTO) ในรอบโดฮา ค่อนข้างจะไร้ผลแต่พยายามสรุปให้ทัน ก่อนการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯในปีหน้า
เมื่อระบบพหุภาคีมีความก้าวหน้าน้อย ทางออกของการค้าโลกจึงออกมาในรูป ระบบการค้าภูมิภาคและทวิภาคี (regional and bilateral FTAs/EPAs)
Regional and Bilateral Trade Agreements in ASEAN Notified to the GATT/WTO and in Force (as of 18 July 2007)
ผลกระทบ FTA/EPAs ต่อประเทศสมาชิก ผลบวก • เชิงสถิต: การเพิ่มพูนทางการค้า, การกระจายทรัพยากรดีขึ้น • เชิงพลวัต: การแข่งขันเพิ่มขึ้น การประหยัดต่อขนาด ดึงดูดการลงทุน ผลลบ • เชิงสถิต: การเบี่ยงเบนทางการค้า (ซื้อสินค้าจากแหล่งที่ไม่ถูกที่สุด) • เชิงพลวัต: การจัดการการกระจายรายได้ การปรับตัวอุตสาหกรรม
ผลกระทบต่อประเทศภายนอกผลกระทบต่อประเทศภายนอก ผลบวก การขยายตัวทางเศรษฐกิจของสมาชิกที่เพิ่มขึ้นจะสนับสนุนการติดต่อทางเศรษฐกิจกับประเทศภายนอก ผลลบ การเบี่ยงเบนทางการค้า
2. FTA ของไทยกับเส้นทางที่ก้าวมา
2.1 FTA ของไทยที่มีผลบังคับใช้
มี 6 ความตกลงที่มีผลใช้บังคับแล้ว ดังนี้ ลงนาม บังคับใช้ ASEAN 28 Jan 1992 1 Jan 1993 Thai-China 18Jun 2003 1 Oct 2003 (พิกัด 07-08 สินค้าผักผลไม้) Thai-Aus 5Jul 2004 1 Jan 2005 Thai-NZ 19Apr 2005 1 Jul 2005 Thai-India 9 Oct 2003 1 Sep 2004 (สินค้า 82 รายการ) Thai-Japan 3Apr 2007 1 Nov 2007
ตัวเลขการขยายตัวของมูลค่าการค้ารวมตัวเลขการขยายตัวของมูลค่าการค้ารวม Thai-NZ Thai-Aus เริ่มลดภาษี 1 ก.ค. 05 เริ่มลดภาษี 1 ม.ค. 05 Thai-India Thai-China เริ่มลดภาษี 1 ก.ย. 04 เริ่มลดภาษี 1 ม.ค. 04 Import Balance Export Unit: million USD ที่มา: กระทรวงพาณิชย์
Thailand-China มูลค่าการค้าสินค้า FTA อันตราการเปลี่ยนแปลง • การค้ารวม • ปี 2003=11.7 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=15.3 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=20.3 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=25.3 พันล้านเหรียญฯ • การค้าสินค้า FTA • ปี 2003=10.3 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=13.5 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=17.9 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=22.3 พันล้านเหรียญฯ • สินค้านำเข้าFTA • ปี 2003=5.3 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=7.2 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=9.8 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=11.7 พันล้านเหรียญฯ เริ่มลดภาษี 1 ม.ค. 04 30.5% 33.2% 24.6% 30.8% 32.7% 24.2% Unit: million USD Import Balance Export • ลดภาษีเหลือ 0 • ผัก ผลไม้ (1 ตุลาคม 2546) • - สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม 5,140 รายการ (1 กรกฎาคม 2548) 33.7% 35.4% 19.6% • สินค้าส่งออกFTA • ปี 2003=4.9 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=6.3 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=8.2 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=10.6 พันล้านเหรียญฯ 27.6% 29.6% 29.8%
Thailand-Australia อันตราการเปลี่ยนแปลง มูลค่าการค้าสินค้า FTA • การค้ารวม • ปี 2003=3.7 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=4.7 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=6.4 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=7.8 พันล้านเหรียญฯ • การค้าสินค้า FTA • ปี 2003=3.7 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=4.6 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=6.4 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=7.7 พันล้านเหรียญฯ 25.2% 37.8% 20.7% 25.3% 37.8% 20.5% เริ่มลดภาษี 1 ม.ค. 05 Unit: million USD Balance Import Export ลดภาษีเหลือ 0 - สินค้าส่วนใหญ่ ภายใน 5 ปี (พ.ศ. 2553) - สินค้าอ่อนไหว ภายใน 20 ปี (อุปกรณ์ไฟฟ้า ผัก ผลไม้ เนื้อ นม และผลิตภัณฑ์นม) เปิดเสรีธุรกิจบริการอย่างค่อยเป็นค่อยไป Thai ลดภาษีเหลือ 0 - สินค้าทุกรายการ ภายใน 5 ปี เสื้อผ้าสำเร็จรูป ภายใน 10 ปี เปิดเสรีธุรกิจบริการส่วนใหญ่ คนไทยมีโอกาสเข้าไปทำงานได้มากขึ้น Aus
Thailand-New Zealand อันตราการเปลี่ยนแปลง • การค้ารวม • ปี 2003=0.48 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=0.57 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=0.77 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=0.85 พันล้านเหรียญฯ • การค้าสินค้า FTA • ปี 2003=0.47 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=0.56 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=0.77 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=0.84 พันล้านเหรียญฯ มูลค่าการค้าสินค้า FTA 19.3% 36.6% 9.4% 19.3% 37.0% 8.2% เริ่มลดภาษี 1 ก.ค. 05 Unit: million USD Balance Import Export Thai ลดภาษีเหลือ 0 - สินค้า 49% ของที่มีการนำเข้าจากนิวซีแลนด์ภายใน 0-5 ปี - สินค้าอ่อนไหว ภายใน 7-20 ปี เปิดเสรีการลงทุนในธุรกิจที่มิใช่บริการ NZ ลดภาษีเหลือ 0 - สินค้าส่วนใหญ่ ภายใน 0-5 ปี - สิ่งทอ เสื้อผ้า รองเท้า ภายใน 10 ปี เปิดให้คนไทยมีโอกาสเข้าไปทำงานได้มากขึ้น
Thailand-India อันตราการเปลี่ยนแปลง มูลค่าการค้าสินค้า FTA • การค้ารวม • ปี 2003=1.5 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=2.0 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=2.8 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=3.4 พันล้านเหรียญฯ • การค้าสินค้า FTA • ปี 2003=0.14 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=0.22 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=0.43 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=0.47 พันล้านเหรียญฯ • สินค้านำเข้าสินค้า FTA • ปี 2003=0.073 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=0.07 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=0.09 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=0.10พันล้านเหรียญฯ เริ่มลดภาษี 1 ก.ย. 04 35.8% 36.9% 22.2% 57.6% 97.9% 8.3% Unit: million USD Import Balance Export • สินค้าส่งออกสินค้า FTA • ปี 2003=0.065 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=0.15 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=0.34 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=0.36 พันล้านเหรียญฯ 4.1% 27.7% 13.5% 126.8% 113.1% 6.9% ปัจจุบัน อยู่ในระหว่างการเจรจาเปิดเสรีเพื่อลดภาษีศุลกากรในส่วนที่เหลือ และการเปิดเสรีการลงทุน และการบริการ เพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้าของอินเดียที่มีค่อนข้างมาก
Thailand-Japan มูลค่าการค้ารวม โครงการความร่วมมือในกรอบ JTEPA ได้แก่ 1. โครงการความร่วมมือเพื่อสนับสนุนโครงการครัวไทยสู่โลก 2. โครงการอนุรักษ์พลังงาน 3. โครงการเศรษฐกิจสร้างมูลค่า 4. โครงการหุ้นส่วนภาครัฐและเอกชน 5. โครงการอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 6. โครงการอุตสาหกรรมเหล็ก 7. โครงการสถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมยานยนต์ Unit: million USD Import Balance Export การค้าสินค้า ลด/ยกเลิกภาษีมากกว่า 90% ของรายการสินค้าและมูลค่าการนำเข้า การค้าบริการ ไทยสามารถไปลงทุนเปิดกิจการและทำงานในญี่ปุ่นได้มากขึ้นและง่ายขึ้น การลงทุน ให้บริษัทไทย/คนไทยเข้าไปลงทุนในทุกสาขา ยกเว้น อุตสาหกรรมผลิตยา
Thailand-ASEAN มูลค่าการค้ารวม เริ่มลดภาษี 1 ม.ค. 93 Unit: Percent Unit: million USD Import Balance Export Growth of total trade
2.2 ความคืบหน้าของ FTA ที่เหลือ
ASEAN-Korea ทำการเจรจาทั้งสิ้น 20 ครั้ง ล่าสุดเมื่อวันที่ 2-5 ตุลาคม 2007 ณ กรุงเวียงจันทน์ ประเทศลาว มีสาระสำคัญดังนี้ • ความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้า • • ผลประโยชน์ที่เสียไปจากการลดภาษีล่าช้ากว่ากำหนด เสนอให้เกาหลีชดเชยผ่านโครงการความร่วมมือ ให้กับอาเซียนทุกประเทศด้วยวิธีการเดียวกัน และเท่าเทียมกัน เพราะง่ายต่อการปฏิบัติ • • สินค้าโควตา เวียดนามต้องการให้เกาหลียกปริมาณโควตาที่นำเข้าไม่หมดในปี 2007 ไปรวมกับปริมาณโควตาปี 2008 • ความตกลงว่าด้วยการค้าบริการ • เกาหลีสามารถสรุปผลการเจรจาข้อผูกพันกับอาเซียนแล้ว 8 ประเทศ เหลือเพียงไทยและฟิลิปปินส์ โดยไทยเรียกร้องให้เกาหลีเปิดตลาดให้บุคลากรไทยเข้าไปทำงานในเกาหลีผ่านสัญญาจ้าง • ความตกลงว่าด้วยการลงทุน • • เกาหลีแสดงความยืดหยุ่นในการเจรจามากขึ้น โดยยอมรับท่าทีของอาเซียนถ้าอาเซียนตกลงที่จะขยายสิทธิประโยชน์ของความตกลงอื่นที่อาเซียนหรือประเทศสมาชิกอาเซียนให้กับประเทศนอกภาคีแก่เกาหลีโดยอัตโนมัติ (Automatic MFN)
ASEAN-EU ทำการเจรจามาแล้ว 2 ครั้ง ล่าสุดวันที่ 21-23 ตุลาคม 2007 ณ ประเทศสิงคโปร์ มีสาระสำคัญดังนี้ การลงทุน สหภาพยุโรปจะเจรจาเฉพาะเรื่องการเปิดตลาดเท่านั้น เนื่องจากการคุ้มครองและการส่งเสริมการลงทุน เป็นสิทธิและอำนาจของประเทศสมาชิก ประเด็นที่ทั้งสองฝ่ายมีความเห็นแตกต่างกัน • การปฏิบัติที่เป็นพิเศษและแตกต่างกัน สหภาพยุโรปเห็นด้วยที่จะให้มีระยะเวลาลดภาษีที่ยาวกว่าสำหรับประเทศกำลังพัฒนา อาเซียนเห็นว่าสหภาพยุโรปซึ่งเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ควรเปิดตลาดมากกว่าและเร็ว • วิธีการทำงาน สหภาพยุโรปเห็นว่าเอกสารต่างๆ ที่จะมีการประชุมหรือหารือ ควรจัดส่งให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบและให้ความเห็นอย่างน้อย 2 สัปดาห์ล่วงหน้าก่อนการประชุม การเจรจาครั้งต่อไป จะมีการประชุมคณะกรรมการร่วมจัดทำความตกลงการค้าเสรีอาเซียน - สหภาพยุโรป ครั้งที่ 3 ในเดือนมกราคม 2008 ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยี่ยม
ASEAN-Japan ทำการเจรจามาแล้ว 9 รอบ ครั้งล่าสุดวันที่ 6-9 สิงหาคม 2007 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ มีสาระสำคัญดังนี้ การเปิดตลาดสินค้า • การลดภาษีสินค้าปกติ (NT) ของญี่ปุ่นเป็นไปตาม Modality ที่ได้ตกลงในหลักการแล้ว คือ ร้อยละ 92 ของมูลค่านำเข้าของญี่ปุ่นจากอาเซียน (Trade Value: TV) และรายการสินค้าทั้งหมด (Tariff Line: TL) • สินค้าในกลุ่ม Exclusion List ร้อยละ 1 ของมูลค่านำเข้าของญี่ปุ่นจากอาเซียนแล้ว ญี่ปุ่น ยังมีสินค้าในกลุ่ม C (Stand Still) สูงถึงร้อยละ 2.98 ของ TV การค้าบริการ กล่าวคือระบุให้จัดตั้ง Sub-committee ภายใน 1 ปี หลังจากความตกลงมีผลบังคับใช้ เพื่อมุ่งให้เกิดการเปิดเสรีระหว่างกันต่อไป การลงทุน ญี่ปุ่น ได้ยอมรับข้อเสนอเดิมของอาเซียน โดยยอมตัด Text เรื่องการเปิดเสรี(Liberalization) และการคุ้มครอง (Protection) แต่ต้องมีรายงานสรุปการหารือระบุว่า อาเซียนจะพิจารณาข้อเรียกร้องของญี่ปุ่น ที่ต้องการให้อาเซียนให้สิทธิประโยชน์แก่นักลงทุนญี่ปุ่นเท่ากับนักลงทุนอาเซียนภายใต้ AIA Agreement และให้ MFN แก่นักลงทุนญี่ปุ่นโดยเร็วที่สุด
ASEAN-India ทำการเจรจามาแล้ว 17 ครั้ง มีสาระสำคัญได้ดังนี้ การลดภาษีสินค้า • สินค้าลดภาษีเป็น 0% (Normal Track: NT) ให้ลดภาษีสินค้าส่วนใหญ่ภายในปี 2011 (NT 1) และอย่างช้าสุดภายในปี 2015 (NT 2) ซึ่งในเบื้องต้นกำหนดให้มีสินค้าจำนวน 80% ของรายการสินค้าทั้งหมด • สินค้าอ่อนไหว (Sensitive List: SL)ตกลงในหลักการสำหรับสินค้าอ่อนไหวที่จะยกเลิกภาษีในปี 2018 ในเบื้องต้นควรมีจำนวน 2-3 ของพิกัดฯ และให้มีการทบทวนเพิ่มจำนวนในภายหลัง • สินค้าพิเศษ (Special Products: SPs) อินเดียตกลงลดภาษีน้ำมันปาล์ม ชา กาแฟ และพริกไทย ระหว่างปี 2008-2018 อัตราภาษีสุดท้ายเป็น 50-60% แต่มาเลเซีย อินโดนีเซีย และเวียดนาม ขอให้อินเดียลดอัตราภาษีให้ต่ำลงอีก การเจรจาครั้งต่อไป การเจรจาจัดทำความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-อินเดีย ครั้งที่ 18 เดิม กำหนดในปลายเดือนกันยายน 2007 ณ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย แต่การประชุมได้เลื่อนออกไปก่อน
ASEAN- Aus-NZ ทำการเจรจามาแล้ว 11 ครั้ง ล่าสุดเมื่อวันที่ 21-28 กันยายน 2007 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย มีสาระสำคัญได้ดังนี้ การค้าสินค้า • การลดภาษีสินค้า ที่ประชุมยังไม่ได้ข้อสรุปเพิ่มเติม • ร่างข้อบทการค้าสินค้า ยังมีหลายประเด็นที่จะต้องหารือกันต่อไป มาตรการ SPS และ STRACAP สามารถสรุปการเจรจาได้แล้ว โดยเหลือเพียงประเด็นการระงับข้อพิพาทที่จะขอให้ที่ประชุมพิจารณาต่อไป กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ซึ่งยังมีประเด็นที่จะต้องหาข้อสรุปต่อไป การค้าบริการ อาเซียนยังไม่มีท่าทีร่วมกันในเรื่อง MNP การลงทุน ยังไม่ได้ข้อสรุปสำหรับประเด็นสำคัญ การเจรจาครั้งต่อไป การเจรจาจัดทำความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ ครั้งที่ 12 ระหว่างวันที่ 10-14 ธันวาคม 2007 ณ เมืองเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา
BIMSTEC ทำการเจรจามาแล้ว 15 ครั้ง ครั้งล่าสุด 24-26 กันยายน 2007 ณ กรุงธากา ประเทศบังคลาเทศ มีสาระสำคัญดังนี้ • การเปิดตลาดการค้าสินค้า • • ที่ประชุมได้มีการหารือในเบื้องต้น ใช้ General Rule ในการพิจารณาแหล่งกำเนิดสินค้า • ใช้เกณฑ์ CTSH+Local content 35% สำหรับประเทศกำลังพัฒนา • ใช้เกณฑ์ CTSH+Local content 30% สำหรับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด • • การลดภาษีสินค้าปกติ (Normal Track) ได้ตกลงแบ่งการลด/ยกเลิกภาษีสินค้า Normal Track ออกเป็น 2 กลุ่ม • กลุ่มที่จะลดภาษีเหลือ 0 (Normal Track Elimination: NTE) • กลุ่มที่จะลดภาษีเหลือร้อยละ 1-5 (Normal Track Reduction:NTR) • กฎเฉพาะรายสินค้า (Product Specific Rules: PSRs) • ให้แต่ละประเทศสมาชิกจัดทำรายการสินค้าส่งออกสำคัญ จำนวน 25 รายการ ที่ต้องการใช้ PSRs • มาตรการปกป้อง (Safeguard) ที่ประชุมยังไม่สามารถหาข้อสรุป • ข้อกำหนดสินค้าผ่านแดน (Goods in Transit) ยังไม่สามารถหาข้อสรุป • การประชุม BIMSTEC TNC ครั้งที่ 16 กำหนดจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 12-16 • พฤศจิกายน 2007 ที่ประเทศอินเดีย
สถานการณ์ล่าสุด Thai-ASEAN ลงนาม AEC Blueprint Nov 2007 มีผลบังคับใช้หลังจากการลงนาม คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1Jan2008 Thai-Peru ลงนาม 19 Nov 2005 Thai-USA ระงับเจรจาเป็นการชั่วคราว โดยมีการสานต่อความสัมพันธ์ทางการค้าและการหารือในประเด็นต่างๆได้ตามปกติ Thai-Bahrain • ยังไม่มีผลบังคับใช้ • 2005 มีเสนอให้เจรจาแบบเขตการค้าเสรีไทย-GCC เพื่อความเหมาะสมแทน • 2006 FTA ไทย-บาห์เรนน่าจะดำเนินการต่อเนื่องจากบาห์เรนไม่ผูกพันกับ GCC
3. ก้าวต่อไปสำหรับ FTA ของไทย
ประเด็นข้อคิด • วิสัยทัศน์(Vision) มีมากพอแล้ว คำถามตอนนี้คือการจัดการในทางปฏิบัติ(implementation management) ทำอย่างไร • เรื่องเร่งด่วนคือการจัดการความลักลั่น(discrimination) ที่จะกลายเป็นความขัดแย้งของผลประโยชน์ (conflict of interest) • เรามักพูดถึงผลบวกของ FTA ที่มีต่อสังคมโดยกว้างและอุตสาหกรรมที่ได้รับประโยชน์ • แต่ผลลบที่เป็นต้นทุนการปรับตัวส่วนอื่นๆ เช่น อุตสาหกรรมที่ปรับตัวลำบาก การปรับตัวของแรงงาน ผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม เป็นต้น การเมืองไม่ได้เอาใจใส่เท่าที่ควร • แล้วจะสร้างความสมดุลในการบริหารจัดการ FTA ไทยได้อย่างไรโดยเฉพาะหลังการเลือกตั้ง
ผลกระทบและแนวทางการปรับตัวผลกระทบและแนวทางการปรับตัว • เป็นเรื่องปฏิบัติที่มีผลกระทบกว้างขวางมากกว่าที่ใคร/หน่วยงานใด/พรรคการเมืองใดจะดำเนินการเพียงลำพัง • ต้องมีกระบวนการประชาธิปไตยรองรับ(democratic process) โดยมีนโยบายระดับชาติที่มีคนและระบบจัดการเชื่อมโยงอย่างเป็นกิจลักษณะ • จัดการแนวทางการปรับตัวที่ชัดเจนและมั่นคงเพื่อรองรับการได้และเสียประโยชน์โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ไม่สามารถแข่งขันและถูกทดแทนโดยการนำเข้า • FTA มีลักษณะดำเนินการแบบยื่นประโยชน์ให้แก่กันและกันระหว่างประเทศคู่ค้า ซึ่งเป็นเรื่องการเจรจาต่อรองและมีรายละเอียดในทางปฏิบัติค่อนข้างมาก จึงอาจถูกแทรกแซงจากการเมืองได้ง่ายและก่อให้เกิดการสูญเสียกำลังในการทำประโยชน์ทางนโยบายการค้าให้กับประเทศในระดับรวมไป
อุปสรรคและปัญหาบางประการที่สำคัญอุปสรรคและปัญหาบางประการที่สำคัญ • แหล่งกำเนิดสินค้า (rules of origin) • มาตรฐานสินค้า (standard and conformity) • สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา • มาตรการจำกัดการนำเข้าที่ไม่ใช่ภาษีอื่นๆ เช่น โควตา เป็นต้น • สิ่งแวดล้อม • การเคลื่อนย้ายคน/แรงงาน • การเปิดเสรีบริการ • การเปิดเสรีการลงทุน
ทางเดินข้างหน้า(หลังการเลือกตั้ง)ทางเดินข้างหน้า(หลังการเลือกตั้ง) • สร้างความเป็นประชาธิปไตยให้ FTAไทย(มาตรการ 190 และอื่นๆ) ในการทำประโยชน์ให้กับประเทศ • ยังคงออกเส้นทางนี้ไม่ได้ FTAของไทยยังต้องก้าวต่อไป (competitive liberalization) ในบริบทภูมิภาคและโลก • มีแนวโน้มเบี่ยงเบนจาก WTO ดังนั้นต้องเกาะติดหลักการและการดำเนินการในทางปฏิบัติที่เหมาะสมให้มาก • กำหนดท่าทีและยุทธศาสตร์ FTAของเราอย่างต่อเนื่องและชัดเจนโดยร่วมมือกันกับประเทศอื่นๆ (collective action) เช่น ASEAN, East Asia, East Asia Plus, Asia Pacific