1 / 20

การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช

การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช. ประกอบด้วย 2 กิจกรรมย่อย 1 . การอบรมวิธีการสำรวจตรวจนับศัตรูพืช/ ศัตรูธรรมชาติ 2. แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช. กิจกรรมย่อยที่ 1 การอบรม ฯ.

Download Presentation

การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืชการสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ประกอบด้วย 2 กิจกรรมย่อย 1. การอบรมวิธีการสำรวจตรวจนับศัตรูพืช/ ศัตรูธรรมชาติ 2. แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช

  2. กิจกรรมย่อยที่ 1การอบรม ฯ วัตถุประสงค์ เพื่อให้เจ้าหน้าที่/อาสาสมัครที่รับผิดชอบโครงการฯมีความรู้ความเข้าใจการสำรวจศัตรูพืช/ศัตรูธรรมชาติ/สภาพอากาศสามารถนำไปถ่ายทอดให้กับผู้ผลิตนำไปประยุกต์ใช้อย่างถูกต้องเหมาะสม

  3. เป้าหมายเจ้าหน้าที่ 5,093 ราย และอาสาสมัคร เกษตรสำรวจ ฯ 15,279 ราย วิธีการดำเนินงานนำหลักสูตรเข้าไปจัดร่วมกับการอบรมที่ปรึกษาโครงการ FS เช่น การสำรวจตรวจนับศัตรูพืช / ศัตรูธรรมชาติ / วินิจฉัยศัตรูพืช ระยะเวลาดำเนินการมีนาคม 2550 งบประมาณอบรมพร้อมกับการอบรมวิทยากรระดับ จังหวัด

  4. กิจกรรมย่อยที่ 2แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช วัตถุประสงค์ • เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการวางแผนเตือนการระบาด /ป้องกันกำจัดศัตรูพืช • เกษตรกรผลิตพืชปลอดภัย 881 กลุ่ม ได้เรียนรู้ /เข้าใจระบบนิเวศในแปลงโครงการ • เป้าหมายจัดทำแปลงทุกอำเภอ 881 แปลง ครอบคลุม 5 กลุ่มพืช + 9 ศูนย์บริหารศัตรูพืช )

  5. หลักการจัดทำแปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืชหลักการจัดทำแปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช • จังหวัดคัดเลือกชนิดพืชที่จะทำแปลงติดตามฯ ตามกลุ่มพืชที่กำหนดไม่น้อยกว่า 1 กลุ่มพืช • อำเภอคัดเลือกแปลงติดตาม/แปลงสำรวจอำเภอละ 1 แปลง พร้อมอาสาสมัครสำรวจแปลง • ดำเนินการติดตามสถานการ์ทุกสัปดาห์รายงานผลให้อำเภอ/จังหวัด/ศบพ. • แปลงที่มีแนวโน้มการระบาดให้เตือนการระบาดให้เกษตรกรในพื้นที่ทราบ

  6. ตัวอย่างตารางคัดเลือกพืชของแต่ละอำเภอ/ จังหวัด จังหวัด ไม้ดอก ข้าว พืชไร่ ไม้ผล พืชผัก หมายเหตุ รวม 1.อยุธยา 2 ถั่ว 2 กุหลาบ 10 2มะม่วง 16 - 2.สุพรรณบุรี 4 2 อ้อย 2 คะน้า 2 มะม่วง 10 - 3. จังหวัดที่ 3 - 76 รวม 881 แปลง เงื่อนไข 1. จังหวัดคัดเลือกกลุ่มพืชเศรษฐกิจที่สำคัญอยู่ในโครงการ FS ไม่น้อยกว่า 1 กลุ่ม 2. ระบุชื่อพืชที่ใช้เป็นแปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ในแต่ละอำเภอ แจ้งกรมฯ ทาง e –mail : agriqua 32 @doae.go.th

  7. วิธีดำเนินงานรายหน่วยงานวิธีดำเนินงานรายหน่วยงาน ตำบล 1.นวส.(ตำบล)/อาสาสมัครเกษตร (ผ่านระบบ โรงเรียนเกษตรกร) 2. เก็บข้อมูลทุกวันจันทร์บันทึกในแบบฟอร์ม 3. เตือนการระบาดผ่าน-หอกระจายข่าว/วิทยุ 4. รายงานผลให้อำเภอ (ส่งแบบสำรวจ)

  8. อำเภอ • มอบหมาย นวส.รับผิดชอบงานป้องกันกำจัดศัตรูพืช • รวบรวมข้อมูลจากตำบลต่างๆ/วิเคราะห์/ประมวลผล • ถ้ามีแนวโน้มการระบาดให้เตือนการระบาดระดับอำเภอ • ผ่านวิทยุ / หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น • ถ้าระบาดแนะนำการกำจัดโดยวิธีผสมผสาน • รายงานจังหวัดทุกวันพุธส่งแบบสรุปทาง e-mail

  9. จังหวัด 1. ผู้รับผิดชอบ รวบ รวม ข้อมูลจากอำเภอต่างๆวิเคราะห์/ ประมวลผล 2. ถ้ามีแนวโน้มการระบาดเตือนระดับจังหวัด วิทยุ / นสพ.ท้องถิ่น 3. รายงานผลให้ ศบศ. เขต กรมฯ ( ทาง e-mail) ผู้รับผิดชอบ: กลุ่มส่งเสริมการผลิต

  10. ศูนย์บริหารศัตรูพืช 1.นวส.รับผิดชอบงานเตือนภัยศัตรูพืชรวบรวมข้อมูลของแต่ละจังหวัดและของศูนย์ วิเคราะห์ / ประมวลผล 2. ถ้าพบมีแนวโน้มระบาดเตือนระดับเขตผ่านทาง จดหมายข่าว /อื่นๆ 3. รายงานให้เขต , กรมฯ (ส่งแบบสรุปทาง e-mail )

  11. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตสำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต 1. สนับสนุนวิชาการให้แก่จังหวัดต่าง ๆ 2. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของจังหวัดและศูนย์ ฯ

  12. ส่วนกลาง กรมส่งเสริมการเกษตร 1. รวบรวมข้อมูลของแต่ละศูนย์ วิเคราะห์/ ประมวลผล 2. จัดทำข่ายเตือนการระบาดระดับประเทศ ผ่านทางสื่อinternet /วิทยุ / หนังสือพิมพ์ / โทรทัศน์ 3.รายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารกรมฯทราบ ผู้รับผิดชอบ:ส่วนบริหารศัตรูพืช กลุ่มงานพยากรณ์และเตือนการระบาด

  13. วิธีการสำรวจ • แบ่งกลุ่มสำรวจเป็น 5 กลุ่มพืช ดังนี้ ข้าว / พืชไร่ / ไม้ผล-ไม้ยืนต้น / พืชผัก และกลุ่มไม้ดอกไม้ประดับ

  14. ตัวอย่างการสำรวจ

  15. แบบสำรวจศัตรูข้าว

  16. แบบสรุปสำรวจศัตรูข้าวระดับอำเภอแบบสรุปสำรวจศัตรูข้าวระดับอำเภอ

  17. แบบสรุปสำรวจศัตรูข้าวระดับจังหวัดแบบสรุปสำรวจศัตรูข้าวระดับจังหวัด

  18. แบบสรุปสำรวจศัตรูข้าวระดับเขต(ศูนย์)แบบสรุปสำรวจศัตรูข้าวระดับเขต(ศูนย์)

  19. งบประมาณ ดำเนินการ 881 อำเภอ ๆ ละ 3,200 บาท เป็นเงินทั้งสิ้น 2, 819, 200 บาท เป็นค่าวัสดุและค่าใช้จ่ายที่จำเป็น เช่นค่าอุปกรณ์ เครื่องเขียน และค่าน้ำมันเชื้อเพลิงของเจ้าหน้าที่

  20. การรายงาน • อำเภอรายงานจังหวัดทุกวันพุธ(แบบสรุประดับอำเภอ) ทางe-mail /เอกสารทางราชการ • จังหวัดรายงานศูนย์ฯ/เขต /กรมฯ(แบบสรุประดับจังหวัด) ทางe-mail /เอกสารทางราชการ • ศูนย์ฯรายงานเขต /กรมฯ(แบบสรุประดับศูนย์) ทางe-mail /เอกสารทางราชการ

More Related