1 / 35

แนวทางและมาตรการ ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ป่า

แนวทางและมาตรการ ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ป่า. นายณรงค์ มหรรณพ ผู้อำนวยการสำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า. ความหมายของพื้นที่คุ้มครอง ( IUCN,2008). คืออาณาบริเวณพื้นผิวโลก ทั้งส่วนพื้นดินและเหนือพื้นดินที่ ควรค่าแก่การสงวนและ

Download Presentation

แนวทางและมาตรการ ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ป่า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางและมาตรการในการจัดการพื้นที่คุ้มครองในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าแนวทางและมาตรการในการจัดการพื้นที่คุ้มครองในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ป่า นายณรงค์ มหรรณพ ผู้อำนวยการสำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า

  2. ความหมายของพื้นที่คุ้มครอง(IUCN,2008)ความหมายของพื้นที่คุ้มครอง(IUCN,2008) • คืออาณาบริเวณพื้นผิวโลก ทั้งส่วนพื้นดินและเหนือพื้นดินที่ • ควรค่าแก่การสงวนและ • การจัดการด้วยวิธีการทางกฎหมายหรือวิธีการอื่น ๆ • เพื่อให้สภาพดั้งเดิมได้รับการอนุรักษ์ไว้ที่ยืนยาว ที่สอดประสานกับการให้บริการของระบบนิเวศและคุณค่าทางวัฒนธรรม (ณ ปี พ.ศ. 2552 ทั่วโลกมีพื้นที่คุ้มครองสภาพธรรมชาติมากกว่า 114,000 แห่ง

  3. จุดประสงค์ของการจัดตั้งพื้นที่คุ้มครอง(IUCN, 1994) • เพื่อการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ • เพื่อการคุ้มครองป่าเปลี่ยว • เพื่อการสงวนคุ้มครองความหลากหลายทางชนิดพันธุ์และความหลากหลายทางพันธุกรรม • เพื่อดำรงรักษาไว้ซึ่งการให้บริการทางสิ่งแวดล้อม • เพื่อการท่องเที่ยวและนันทนาการ • เพื่อการศึกษา • เพื่อการใช้ทรัพยากรจากระบบนิเวศธรรมชาติอย่างยั่งยืน และ • เพื่อรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมและประเพณีการถือปฏิบัติต่าง ๆ

  4. ประเภทของพื้นที่คุ้มครองประเภทของพื้นที่คุ้มครอง มี 6 ประเภท (IUCN ,2003)

  5. I พื้นที่คุ้มครองอย่างเข้มข้น (Strict Protection) • เช่น พื้นที่สงวนชีวาลัย พื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 1 เอ

  6. II อุทยานแห่งชาติ (National Park) เป็นพื้นที่ที่ค่อนข้างกว้างขวาง มีสภาพธรรมชาติงดงามตระการตา มีปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่น่าอัศจรรย์ น่าสนใจเป็นพิเศษ มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศิลปะสังคมวัฒนธรรม หรือมีพันธุ์สัตว์ พันธุ์พืชที่น่าสนใจ ควรค่าแก่การสงวนรักษาไว้เพื่อประโยชน์ด้านการอนุรักษ์ วิทยาศาสตร์ ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และการพักผ่อนหย่อนใจ

  7. III พื้นที่อนุสรณ์สถานทางธรรมชาติ(Natural Monument) • พื้นที่มรดกโลกทางวัฒนธรรม

  8. IV พื้นที่ที่มีการจัดการเพื่อเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยหรือชนิดพันธุ์ (Habitat/Species Management Area) • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สวนพฤกษศาสตร์

  9. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า • เป็นพื้นที่ที่กำหนดขึ้นเพื่อให้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าโดยปลอดภัย • เพื่อว่าสัตว์ป่าในพื้นที่ดังกล่าวจะได้มีโอกาสสืบพันธุ์และขยายพันธุ์ตามธรรมชาติได้มากขึ้น • ทำให้สัตว์ป่าบางส่วนได้มีโอกาสกระจายจำนวนออกในท้องที่อื่น ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงกับพื้นที่รักษาพันธุ์สัตว์ป่า

  10. V พื้นที่คุ้มครองภูมิทัศน์ทางบก/ภูมิทัศน์ทางทะเล (Protected Landscape/Seascape)

  11. VI พื้นที่คุ้มครองเพื่อการจัดการทรัพยากร (Managed Resources Protected Area) เช่น เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าชายเลนอนุรักษ์

  12. แนวคิดเกี่ยวกับพื้นที่คุ้มครองในยุคปัจจุบัน(IUCN, 2003)

  13. ด้านวัตถุประสงค์ • เดิม • เน้นด้านการอนุรักษ์ • ปัจจุบันให้เพิ่ม • ด้านสังคม • เศรษฐกิจ และ • จัดการร่วมกับชุมชนท้องถิ่นมากกว่ากล่าวอยู่ในความคิด

  14. ด้านผู้บริหาร • เดิม • ดำเนินการโดยรัฐบาลส่วนกลาง • ของใหม่ • ให้ดำเนินการจากหลายภาคส่วน และ • ผู้มีส่วนได้เสียได้รับจัดสรรให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการด้วย

  15. ด้านชุมชนท้องถิ่น • เดิม • จะวางแผนและจัดการที่ขัดแย้งกับประชาชน ไม่คำนึงถึงหรือตระหนักถึงความคิดเห็นของชุมชนท้องถิ่น • ใหม่ • ให้ดำเนินการร่วมและบางกรณีดำเนินการโดยชุมชนท้องถิ่น และ • จัดการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้บรรลุความต้องการของชุมชนท้องถิ่น

  16. แนวคิดที่กว้างจากเดิมแนวคิดที่กว้างจากเดิม • เดิม • แยกพัฒนาอย่างโดดเดี่ยว • จัดการเป็นอิสระ คล้าย “เกาะ” • แนวคิดใหม่ • การพัฒนาเป็นแผนหนึ่งของการพัฒนาของประเทศ ภูมิภาค และนานาชาติ • พัฒนาให้เป็น “เครือข่าย” (พื้นที่ห้วงห้ามพิเศษ เขตกันชน และการเชื่อมต่อพื้นที่สีเขียว)

  17. มุมมองด้านการรับรู้ • เดิม • มีมุมมองว่า “เป็นสมบัติของชาติ” • เป็นเรื่อง “ภายในประเทศ” • แนวคิดใหม่ • ให้มีมุมมองว่า “เป็นสมบัติของชุมชนด้วย” • มองว่าเป็นเรื่อง “ระดับนานาชาติด้วย”

  18. ด้านเทคนิคในการจัดการด้านเทคนิคในการจัดการ • เดิม • จัดการเพื่อตอบสนองในช่วงเวลาสั้นๆ • จัดการโดยผู้เชี่ยวชาญและมีเทคนิคที่เฉพาะ • แนวคิดใหม่ • จัดการโดยพิจารณาเหตุการณ์ในระยะยาว และ • จัดการร่วมกับการพิจารณาแนวนโยบายแห่งรัฐ

  19. ด้านการเงิน • เดิม • จ่ายโดย “ผู้เสียภาษี” • ใหม่ • จ่ายโดย “แหล่งเงินต่าง ๆ

  20. ความชำนาญในการจัดการ • เดิม • จัดการโดย “นักวิทยาศาสตร์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านทรัพยากรธรรมชาติ” • ใหม่ • จัดการโดย “ผู้ชำนาญการในหลายๆ ด้าน และ • ดำเนินการอยู่บนพื้นฐาน “ความรู้ของชุมชน”

  21. แนวทางและมาตรการในการจัดการพื้นที่คุ้มครองของไทยแนวทางและมาตรการในการจัดการพื้นที่คุ้มครองของไทย

  22. กิจกรรมในการดำเนินการกิจกรรมในการดำเนินการ • จำแนกเป็น 3 ด้าน • ด้านการคุ้มครองดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ • ด้านการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ • ด้านการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง

  23. ด้านการคุ้มครองดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติด้านการคุ้มครองดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ .

  24. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 5 ฉบับ • พ.ร.บ.ป่าไม้ พุทธศักราช 2484 (เพื่อควบคุมการทำไม้ การนำไม้เคลื่อนที่ การค้า การครอบครอง การแผ้วถางป่า) • พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504(เพื่อคุ้มครองพื้นที่โดดเด่นไว้และจัดตั้งในรูปของอุทยานแห่งชาติ) • พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507(เพื่อสงวนรักษาพื้นที่ป่าไว้ให้เป็นสมบัติของชาติ ให้ได้ 50 %) • พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535(ปรับปรุง พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า ปี 2503 เพิ่มส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า การนำเคลื่อนที่สัตว์ป่าและซากสัตว์ป่า) • พ.ร.บ.ส่งเสริมละรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535(เพื่อจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน จะใช้หลักธรรมรัฐ หลักการมีส่วนร่วม และหลักการกระจายอำนาจ)

  25. การบังคับใช้กฎหมาย • แนวเขต • (ดูแลป้าย หลักเขต ถนน แนวต้นไม้ รั้ว) • การดำเนินคดี • การฟ้องคดี • (ทุก พ.ร.บ.) คัดค้านการประกันตัวและการคืนของกลาง • การบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งศาล (กรณีมีสิ่งปลูกสร้าง) • (ป.วิแพ่ง ม 271กำหนดเมื่อศาลตัดสินแม้คดียังไม่ถึงที่สุด ให้ร้องขอให้ศาลบังคับตามคำพิพากษาได้ เราไม่จำเป็นต้องดำเนินการตามมาตรา 22 ที่จะสุ่มเสี่ยงในหลาย ๆด้าน แต่ต้องดูว่าจำเลยขอทุเลาการบังคับหรือไม่) • กรณีศาลยังไม่สั่ง การดำเนินการทางปกครองโดยใช้มาตรา 22 ต้องรอบคอบ • การฟ้องเรียกค่าเสียหายทางแพ่ง

  26. การลาดตระเวนแบบคุณภาพ (Smart Patrol) • ปัญหาที่พบคือ • เครื่องมือ GPS(ไม่พอ เสีย ถ่านหมด) แผนที่ 1:50,000 ไม่พอ • การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประมวลผล • ขาดเจ้าหน้าที่ชำนาญด้านคอมพิวเตอร์ • ขาดการประชุมวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน) • ผู้ปฏิบัติงาน ขาดขวัญกำลังใจ (ค่าจ้างต่ำ ไม่มีค่าเบี้ยเลี้ยง) • มาตรการ • เครื่องมือ • ดูแลรักษาให้ดี ซื้อได้ซื้อเลย • ฝึกเจ้าหน้าที่ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลให้มาก • ให้ความสนใจ ดูแลผู้ปฏิบัติ

  27. การฟื้นฟูพื้นที่ที่ตรวจยึดการฟื้นฟูพื้นที่ที่ตรวจยึด • ปลูกฟื้นฟูทันที่ • เขียนป้ายแสดง

  28. ด้านการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติด้านการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ • นักท่องเที่ยว • ให้ความรู้ ปฏิบัติตามระเบียบ • นักวิจัย • ควบคุม • จัดสัมมนานักวิจัยทุกปี • เจ้าหน้าที่ • ต้องเป็นต้นแบบ (ขยะ แต่งตัว การไม่กินสัตว์ป่า)

  29. ด้านการใช้ประโยชน์พื้นที่คุ้มครอง (ต่อ) • จำแนกเขตการจัดการ (ใช้ให้ถูก) • การนำพืช และสัตว์ต่างถิ่นเข้าไป • การจัดการขยะ • ขนออก • ลงทะเบียนขยะ • มอบรางวัล • การจำกัดจำนวนนักท่องเที่ยว • การห้ามให้อาหารสัตว์ป่า • การควบคุมความเร็วยานพาหนะ • การจัดรถบริการ

  30. ด้านการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองด้านการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง • เจ้าหน้าที่ • คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง • ใช้ประโยชน์ให้มาก • งบค่าตอบแทนกรรมการ • ชุมชน

  31. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการพื้นที่คุ้มครองการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง • เพิ่มบทบาทของชุมชนท้องถิ่นให้มีส่วนร่วมในการจัดการให้มากขึ้น • รับทราบ • ให้ข้อเสนอแนะ • ให้คำปรึกษา • การสร้างความร่วมมือ และ • รับทราบเหตุผลการตัดสินใจ) • ตระหนักเสมอว่าจะให้พื้นที่คุ้มครองคงอยู่ต้องอาศัยประชาชนโดยเฉพาะชุมชนท้องถิ่น

  32. แนวทางการดำเนินการ • ต้องกำหนดแนวทางการอนุรักษ์ให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่ให้มาก • ทำให้การอนุรักษ์เป็น “กระบวนการ” มิใช่ “โครงการ” คือ • เน้นงานการมีส่วนร่วมที่เป็นกระบวนการนาน ๆ • ทำให้เกิดการสั่งสมความคิดไว้ใต้จิตสำนึกของประชาชนที่ละน้อย • มีหน่วยงานรับผิดชอบที่ถาวรและต่อเนื่อง

  33. กิจกรรม • ประชุมร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่ (อบต.จังหวัด) ทุกครั้ง • การประชาสัมพันธ์ (บรรยายตามโรงเรียน ชุมชน) • การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในชุมชน • การตั้งกลุ่ม ชมรม • การใช้สื่อมวลชน

  34. .

  35. CN Creative สวัสดี

More Related