250 likes | 615 Views
การนำ KM ไปสู่งานประจำ. นางสาวขวัญเรือน หาญกล้า เลขานุการคณะแพทยศาสตร์ 12 มีนาคม 2556. KM ความหมายของ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช. การจัดการความรู้ คือ เครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการ ไปพร้อมๆ กันได้แก่ 1 . บรรลุเป้าหมายของงาน 2 . บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน
E N D
การนำ KM ไปสู่งานประจำ นางสาวขวัญเรือน หาญกล้า เลขานุการคณะแพทยศาสตร์ 12 มีนาคม 2556
KMความหมายของ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช การจัดการความรู้ คือ เครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการ ไปพร้อมๆ กันได้แก่ 1. บรรลุเป้าหมายของงาน 2. บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน 3. บรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไปเป็นองค์ความรู้ 4. บรรลุความเป็นชุมชน ความเป็นหมู่คณะ ความเอื้อ อาทรระหว่างกันในการทำงาน
แนวคิดในการนำ KM มาสู่งานประจำ
ทุกหน่วยงานสามารถค้นหาประเด็นจากงานประจำมาทำ KM • 1.การทำ KM ภายในงานเดียวกัน • ใช้กับการทำงานที่มีหลายขั้นตอนแต่ละคนจะต้องรับช่วงต่อการทำงานที่ต่อเนื่องกันจนจบกระบวนการทำงาน
ทุกหน่วยงานสามารถค้นหาประเด็นจากงานประจำมาทำ KM • 2.การทำ KM ระหว่างหน่วยงานภายในคณะฯ / นอกคณะ • ใช้กับการทำงานที่มีขั้นตอนการทำงานเกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน • การใช้ข้อมูลร่วมกัน • ตัวอย่างการใช้จ่ายงบประมาณ • งานนโยบายและแผน การจัดสรรงบประมาณ • งานพัสดุ จัดซื้อ / จัดจ้าง • งานคลัง คุมยอด / เบิกจ่าย • กองคลัง โอนเงิน / จ่ายเช็ค
ทุกหน่วยงานสามารถค้นหาประเด็นจากงานประจำมาทำ KM • ตัวอย่างเช่น การจ้างบุคลากร • งานนโยบายและแผน จัดการอัตราค่าจ้าง • หน่วยการเจ้าหน้าที่ ขออนุมัติประสานจ้าง • กองการเจ้าหน้าที่ • กองการเจ้าหน้าที่ สอบ/คัดเลือกทำคำสั่งแต่งตั้ง
ทุกหน่วยงานสามารถค้นหาประเด็นจากงานประจำมาทำ KM • 3.การทำ KM ระหว่างผู้ให้บริการกับผู้รับบริการ • ภาควิชามาใช้บริการที่หน่วยงานในสำนักงานคณบดี
การดำเนินการ KM ในแต่ละงานในสำนักงานคณบดี
การดำเนินงาน / กิจกรรม • หัวหน้าสำนักงานคณบดี / หัวหน้างาน / หัวหน้าหน่วย • สนับสนุนให้มีการนำเสนอผลงาน KM ทั้งภายในและภายนอกคณะฯ 1.มีแผนพัฒนางานโดยกระบวนการ KM • เพื่อให้มีการทำ KM ในทุกหน่วยงาน สังกัดสำนักงานคณบดี • เพื่อมีการนำเสนอ KM ในคณะฯ และนอก มหาวิทยาลัย • เป็นผลงานในการประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงานตามนโยบายของคณะแพทยศาสตร์ • ผู้รับผิดชอบ • เป้าหมาย
การดำเนินงาน / กิจกรรม • เพื่อเป็นเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ฝ่ายพัฒนาคุณภาพ สำนักงานคณบดี • - จัดอบรมความรู้ KM • -ชี้แจงเกณฑ์ KPI ของการดำเนินการ KM ในแต่ละระดับ 2. นำ KM ไปสู่งานประจำและเป็น KPI ภาคบังคับ • ผู้รับผิดชอบ • เป้าหมาย
การดำเนินงาน / กิจกรรม • จัดอบรม Notetaker • ถอดบทเรียน • -เพื่อให้เกิดแรงผลักดันและเกิดการทำ KM ในหน่วยงาน หัวหน้างาน หัวหน้าหน่วย 3.ผู้นำต้องเป็นผู้กระตุ้นผลักดันให้เกิด KM ในหน่วยงาน • ผู้รับผิดชอบ • เป้าหมาย
การดำเนินงาน / กิจกรรม • จัดอบรม Facilitator • เป็นผู้นำในการทำ KM หรือขยาย KM ในหน่วยงาน 4.สร้างทีมผู้นำ FacilitatorKM ในหน่วยงาน • ผู้รับผิดชอบ • เป้าหมาย • หัวหน้างาน/หัวหน้าหน่วย
การดำเนินงาน / กิจกรรม • จัดทำวารสาร KM, บอร์ด KM และจัดทำ Facebook KM คณะ 5.มีการสื่อสาร KM ภายในองค์กรอย่างทั่วถึง • เพื่อให้บุคลากรทุกคนได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร KM ได้อย่างทั่วถึง • ผู้รับผิดชอบ • เป้าหมาย • สำนักงาน KM
การดำเนินงาน / กิจกรรม • จัดงานชื่นชมฯ • เพื่อให้บุคลากรมีความภาคภูมิใจและจูงใจให้ผู้อื่นทำ KM 6.การแสดงความชื่นชมยินดีผู้มีผลงาน KM ที่ส่งเข้าประกวด • เป้าหมาย • ผู้รับผิดชอบ • สำนักงาน KM
การดำเนินงาน / กิจกรรม • มีแผนติดตาม ประเมินผลการดำเนินการ KM เป็นระยะ • -เป็นการสะท้อนผลการปฏิบัติงานระหว่างหัวหน้าฯ และผู้ปฏิบัติงาน 7.มีการติดตาม KM และให้คำแนะนำ ปรึกษา อย่างต่อเนื่อง • ผู้รับผิดชอบ • เป้าหมาย • หัวหน้าสำนักงานคณบดี/หัวหน้างาน/หัวหน้าหน่วย
หมายเหตุ ในปี 2555 ยังไม่ใช้ KPI เกณฑ์คุณภาพใช้เฉพาะเกณฑ์เชิงปริมาณ