1 / 14

ทิศทางการดำเนินงานศูนย์พึ่งได้กับการบูรณาการงานนโยบาย OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม

ทิศทางการดำเนินงานศูนย์พึ่งได้กับการบูรณาการงานนโยบาย OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม. บุญพลอย ตุลาพันธุ์ สำนักบริหารการสาธารณสุข ณ. สถาบันวิชาการ TOT จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ ๑๗-๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๖. สถานการณ์ปัญหา. ๑. การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ประเทศไทยติดอันดับ ๑ ของเอเชีย

chick
Download Presentation

ทิศทางการดำเนินงานศูนย์พึ่งได้กับการบูรณาการงานนโยบาย OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการดำเนินงานศูนย์พึ่งได้กับการบูรณาการงานนโยบายOSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม บุญพลอย ตุลาพันธุ์ สำนักบริหารการสาธารณสุข ณ. สถาบันวิชาการ TOT จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ ๑๗-๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๖

  2. สถานการณ์ปัญหา ๑. การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ประเทศไทยติดอันดับ ๑ ของเอเชีย ๒. ปัญหาการค้ามนุษย์ ประเทศไทยถูกประเมินโดยกระทรวงการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาอยู่ในระดับ Tier ๒ watch list ๓ ปี ติดต่อกัน คือ ปี ๒๕๕๓,๒๕๕๔และ๒๕๕๕ ๓.ปัญหาการใช้แรงงานเด็ก ได้๔กระบุในรายงานของกระทรวงแรงงานของประเทศสหรัฐอเมริกา ว่าสินค้าที่ผลิตจากประเทศไทยมีการใช้แรงงานเด็กและแรงงานบังคับในสถานประกอบการ จำนวน ๕ สินค้า ได้แก่ กุ้ง เครื่องนุ่งห่ม อ้อย สื่อลามกและปลา ส่วนเรื่องความรุนแรงพบว่าทุกๆ ๒๐ นาทีจะมีเด็กหรือสตรีถูกกระทำรุนแรง ๑ ราย

  3. ความเป็นมา ของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม • นายกรัฐมนตรี มีบัญชาให้ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) จัดประชุมเรื่อง “การขับเคลื่อนงานการพัฒนาเด็กและสตรี” ใน ๔ ประเด็นปัญหาหลัก คือท้องไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) การค้ามนุษย์ การใช้แรงงานเด็กและ ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุและคนพิการ เมื่อวันที่ ๒๕ ม.ค.๕๖ ณ ตึกไทยคู่ฟ้า ทำเนียบรัฐบาลโดยนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน พร้อมด้วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

  4. ความเป็นมา (ต่อ) ๑.ให้จัดทำระบบการให้บริการประชาชนในลักษณะศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service Center) เพื่อให้บริการและส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ ๒.ยึดหลักการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐและองค์กรเอกชน มูลนิธิและเครือข่ายภาคประชาชน และให้กำหนดจุดให้ บริการ (Front Line) และระบบส่งต่อ โดยมีหน่วยงานที่รับผิดชอบ ในแต่ละประเด็นปัญหา มีการกำหนดการเชื่อมต่อที่ชัดเจน

  5. ความเป็นมา (ต่อ) ๓.การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในการจัดเก็บข้อมูล การส่งต่อตั้งแต่การรับเรื่อง จนถึงการให้บริการขั้นตอนสุดท้าย เพื่อให้สามารถติดตามและประเมินผลผ่านระบบสารสนเทศได้ ๔.มอบหมายให้ พม.เป็นเจ้าภาพหลักประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๕.มอบหมายให้ สศช.ร่วมกับ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อร้องรับการดำเนินงานดังกล่าว โดยมีเป้าหมายสุดท้ายให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับกระทรวงมหาดไทย

  6. การประชาสัมพันธ์ • รัฐบาลประชาสัมพันธ์เมื่อวันที่ ๘ มี.ค.๒๕๕๖ วันสตรีสากล แถลงข่าวให้กลุ่มเครือข่ายสตรีที่เข้าร่วมงานที่เมืองทองธานี • รัฐบาลจัดงานเปิด OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคมเมื่อวันที่ ๙ เมษยน ๒๕๕๖ ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล ซึ่งมีกิจกรรม การลงนาม MOU ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน การจัดคาราวานประชาสัมพันธ์งาน และการถ่ายทอดสดผ่านสถานีโทรทัศน์ช่อง ๑๑ โดยรัฐบาลใช้ชื่อ “OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม” และ ใช้เบอร์สายด่วน ๑๓๐๐

  7. ทำไมจึงบูรณาการกับงานศูนย์พึ่งได้ ? ๑.เป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย เช่น พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖ พรบ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐ พรบ.ปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ฯลฯ ๒. กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่เป็นเด็กสตรี ผู้สูงอายุและคนพิการ ซึ่งเป็นกลุ่มด้อยโอกาสในสังคม ๓. มีรากเหง้าของปัญหา มาจากแหล่งเดียวกัน หรือคล้ายกัน ๔. เป็นปัญหาสังคมที่เกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน ๕. การให้ความช่วยเหลือต้องทำงานแบบสหวิชาชีพ ๖. ต้องสร้างเครือข่ายการให้ความช่วยเหลือ

  8. OSCC (One Stop Crisis Center)1300 ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ติดตาม ประเมินผล บูรณาการช่วยเหลือในภาวะวิกฤติ การช่วยเหลือภายหลังภาวะวิกฤติ ปัญหา ช่องทางการติดต่อ ถ้าท่านประสบปัญหา การคุ้มครองพิทักษ์สิทธิและการดำเนินการตามกฎหมาย แจ้งที่หน่วยรับเรื่อง โรงพยาบาล : ดูแลสุขภาพ หน่วยงาน พม. :คุ้มครองสวัสดิภาพ จัดหาที่พักชั่วคราว มากกว่า 20,000 หน่วย ทั่วประเทศ ตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) เร่งรัด ติดตามผลและรายงานผล จัดเก็บข้อมูล Hot Line:1300 ฟื้นฟูเยียวยา ด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน :นำเด็กออกจากสถานประกอบการเพื่อสืบค้นข้อเท็จจริงและดำเนินการตามกฎหมาย สถานีตำรวจ : รับแจ้งความ สืบสวนหาข้อเท็จจริง ค้ามนุษย์ Website www.osccthailand.go.th (อยู่ระหว่างพัฒนาระบบ) แรงงานเด็ก หน่วยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน การช่วยเหลืออื่นๆ ตามสภาพปัญหา Mobile Application ความรุนแรง ต่อเด็กและสตรี ฯ www.osccthailand.go.th (อยู่ระหว่างพัฒนาระบบ) แจ้งเตือน แจ้งเตือน แจ้งเตือน แจ้งเตือน (อยู่ระหว่างพัฒนาระบบ) (อยู่ระหว่างพัฒนาระบบ) (อยู่ระหว่างพัฒนาระบบ) (อยู่ระหว่างพัฒนาระบบ) เชื่อมโยงระบบการให้บริการ แจ้งเตือนถึงหน่วยงานผู้รับผิดชอบ เมื่อผู้ประสบปัญหายังไม่ได้รับบริการหรือบริการล่าช้า และปกป้องข้อมูลบุคคลโดยระบบสารสนเทศ ICT หน่วยรับเรื่องมากกว่ามากกว่า 21,614 หน่วย ทั่วประเทศ ได้แก่ พม. 324 หน่วย, สธ. 10,579 หน่วย, รง. 76 หน่วย, ยธ. 77 หน่วย, มท. 8,729 หน่วย, ศธ. 236 หน่วย, สตช. 1,465 หน่วย, กทม. 127 หน่วย และเมืองพัทยา 1 หน่วย

  9. ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ 3 3 24 ชม. ผู้เสียหาย (คนไทย/ ไม่ใช่คนไทย) 1 2 3 กรณีคนไทยติดตามทุก 3 / 6 /12 เดือน 3 หน่วยให้บริการ 1.แจ้งด้วยตนเอง พามาที่บ้านพักเด็กและครอบครัวในกรณีที่ผู้เสียหายยังไม่พร้อมให้ปากคำ หรือยังไม่มีที่พัก ภายใน 24 ชม. คัดแยกผู้เสียหาย 4 อาจจะเป็นผู้เสียหาย 2. โทร 1300 ติดตาม/ ประเมินผล 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์ พม. คุ้มครองชั่วคราว 24 ชม. และขยายเวลาอีก 7 วัน สตช. 5 3 ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ 24 ชม. รายงานความคืบหน้าทุก 10 วัน (นับจากวันรับเรื่อง) ไม่ใช่ผู้เสียหาย 3 พม. คนไทย 3 ส่ง พงส. ดำเนินการตาม กม. ที่เกี่ยวข้อง ไม่ใช่คนไทย 10 10

  10. ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และบุคคลในครอบครัว 3 2 3 การแพทย์ สธ. • - บำบัดรักษา • ฟื้นฟู เยียวยาร่างกายและจิตใจ 1 พม. ส่งต่อ Case ไปรับบริการตามสภาพปัญหา สังคม • - จัดหาที่พักชั่วคราว (พม.) • - ให้บริการสังคมสงเคราะห์ (พม.) • ดูแลด้านการศึกษา(ศธ./พม.) • ฝึกอาชีพ/ จัดหางาน (รง./ พม.) ภายใน 24 ช.ม. Front Line หน่วยให้บริการ พมจ./ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัว(พส.) ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม สตช./ยธ./อัยการ/ พม. - เรียกร้องสิทธิ - ยื่นคำร้องขอคุ้มครองสวัสดิภาพภายใน 7 วัน - ดำเนินคดีผู้กระทำผิด ภายใน 48 ช.ม. ภายใน 1 วัน 4 ติดตาม/ ประเมินผล พม. 3 3 5 ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ กรณีผู้ประสบปัญหาชาวต่างชาติ ประสานความช่วยเหลือเบื้องต้น พม. สตช. สถานทูต /สถานกงสุล (ประเทศผู้ประสบปัญหา) 12 12

  11. ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีการตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) กรณีต้องการที่พักชั่วคราว (คลอดบุตรแล้วประสบปัญหา, ตั้งครรภ์หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์) 3 3 ตั้งครรภ์ – 1 ปี หลังคลอด 2 1 2 3 ตั้งครรภ์ 1.แจ้งด้วยตนเอง ภายใน 24 ชม. 2. โทร 1300 พิจารณาเลือกข้อเสนอ ประชุมทีมสหวิชาชีพ (ภายใน 5 วัน) วางแผนทางเลือก 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์ (1 วัน) หน่วยให้บริการ ติดตาม/ ประเมินผล ยุติการตั้งครรภ์ 4 พม. สามารถปิด Case ได้ในกรณีที่ผู้ประสบปัญหาสามารถกลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข/ คืนสู่ครอบครัว สังคม บ้านพักเด็กและครอบครัว องค์กรเอกชน ฯลฯ ให้การดูแลเพื่อใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ 5 ยุติการตั้งครรภ์ (กรณีเข้าเกณฑ์) 3 พม. 13 13

  12. สิ่งที่จะต้องเตรียมการ (ภูมิภาค) ๑. การส่งข้อมูลผู้รับผิดชอบหลักของจังหวัด เพื่อส่งให้กระทรวง ICT ออก username และ password ให้เป็น Admin ของจังหวัด เพื่อไปดำเนินการออก username และ password ให้กับหน่วยงานในความรับผิดชอบของตนเอง ๒. การเป็นวิทยากรร่วมกับพมจ.ตำรวจ สวัสดิการคุ้มครองแรงงานจังหวัด ในการอบรมให้กลุ่มเป้าหมายในจังหวัดให้ครอบคลุมทุกหน่วยงาน ๓. การจัดเตรียมข้อมูลเครือข่ายในพื้นที่ (และนอกพื้นที่ในบางกรณี โดยอาจเป็นพื้นที่ใกล้เคียง) เพื่อใช้ในการประสานงาน โดยควรมีการจัดทำทำเนียบเครือข่ายให้ครอบคลุมทุกหน่วยงานในพื้นที่ (ประสานการทำงานร่วมกับพมจ.)

  13. สิ่งที่จะต้องเตรียมการ (ส่วนกลาง) ๑. องค์ความรู้ คู่มือที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการในสถานบริการทุกระดับ รวมทั้งการให้ความรู้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง รวมทั้งครูในโรงเรียน ๒. การผลักดันชุดสิทธิประโยชน์ของกลุ่มเป้าหมายหลัก ๔ กลุ่ม ให้ได้รับการดูแล คุ้มครองช่วยเหลือ ทั้งทางด้านสาธารณสุข กฎหมาย สังคมและอื่นๆ ๓. การรวบรวมเครือข่ายหน่วยงานให้ความช่วยเหลือ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยบริการ ๔. สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน การจัดอบรม ให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ ๕. การให้คำปรึกษาและติดตามผลการดำเนินงานของพื้นที่ ฯลฯ

More Related