180 likes | 310 Views
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด และกลุ่มจังหวัด ที่ 3.2. ระดับความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด (น้ำหนักร้อยละ 3). รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 3.2 (น้ำหนักร้อยละ 3). ระดับความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด. คำอธิบาย :
E N D
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด และกลุ่มจังหวัด ที่ 3.2 ระดับความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (น้ำหนักร้อยละ 3)
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 3.2 (น้ำหนักร้อยละ 3) ระดับความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด • คำอธิบาย: • ระดับความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด หมายถึง ความสามารถในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบบูรณาการ ทั้งในด้านการปราบปรามผู้ค้ายาเสพติด การป้องกันและปราบปรามการแพร่กระจายของตัวยา การบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในทุกระบบ และการป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปใช้ยาเสพติด และการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเมื่อ • สิ้นปีงบประมาณ สถานการณ์ปัญหายาเสพติดต้องอยู่ในระดับที่ไม่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนและมีผลปฏิบัติงานในระดับดีขึ้นกว่าปีงบประมาณที่ผ่านมา โดยกำหนดแนวทางการดำเนินงานเป็นระดับขั้นตอนของความสำเร็จ (Milestone) และประเมินผลสำเร็จจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายในแต่ละระดับ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 3.2 (น้ำหนักร้อยละ 3) ระดับความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ระดับ 5 จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ที่สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์และสรุปสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในจังหวัด และกำหนดตัวชี้วัดผลสำเร็จที่เป็นผลผลิต/ผลลัพธ์ที่วัดผลได้ชัดเจน เป็นรูปธรรม โดยตั้งเป้าหมายให้ดีกว่าผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 และอย่างน้อยต้องระบุตัวชี้วัด “ร้อยละของหมู่บ้าน/ชุมชนในจังหวัด ที่มีผู้เสพ/ผู้ติด/ผู้ค้ายาเสพติดต่อประชากร ไม่เกิน 3 : 1,000 คน” ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 สรุปทบทวน สถานการณ์ปัญหายาเสพติดในจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 โดยระบุข้อมูล สำคัญที่เกี่ยวกับสถานการณ์ยาเสพติดในจังหวัด ลงถึงระดับหมู่บ้าน/ชุมชนให้ครบถ้วน เพื่อใช้ ประกอบการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดของจังหวัด ระดับ 1
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 3.2 (น้ำหนักร้อยละ 3) ระดับความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ได้แล้วเสร็จครบถ้วน พร้อมทั้งสรุปผลสำเร็จตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ตามแผนปฏิบัติการฯ ได้ครบทุกตัวชี้วัด และมีการดำเนินงานใน 3 ภารกิจประกอบด้วย ระดับ 5 ระดับ 4 1) การสำรวจและนำข้อมูลผลการสำรวจเพื่อจำแนกสถานะของหมู่บ้าน/ชุมชนเข้าระบบของสำนักงาน ป.ป.ส. ผ่านเว็บไซด์http://pnars.oncb.go.th ได้ครบถ้วนทุกหมู่บ้านภายในวันที่ 31 ก.ค. 2553 2) ตรวจสอบข้อมูลการสำรวจเพื่อจำแนกสถานะของหมู่บ้าน/ชุมชน ที่นำเข้าระบบฐานข้อมูลข้อมูลด้านยาเสพติดของสำนักงาน ป.ป.ส. http://pnars.oncb.go.th และมีความถูกต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ภายในวันที่ 30 ก.ย. 2553 3) สรุปสถานภาพเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดของจังหวัดรายเดือน โดยมีสรุปผลการประชุมและนำเข้าในระบบของสำนักงาน ป.ป.ส. ผ่านเว็บไซด์ http://pnars.oncb.go.th ครบทุกเดือน ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 3.2 (น้ำหนักร้อยละ 3) ระดับความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด • ผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการฯ ทั้งหมดดีกว่าเป้าหมายที่กำหนด และปัญหายาเสพติดต้องอยู่ในระดับที่ไม่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน • สำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของจังหวัดตามแนวทางที่สำนักงาน ป.ป.ส. กำหนด โดยมีผลสำรวจไม่ต่ำกว่าผลสำรวจความพึงพอใจฯ ในภาพรวมของประเทศที่จัดทำโดยสำนักงาน ป.ป.ส. ระดับ 5 ผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กำหนดไว้ ในแผนปฏิบัติการฯ ทั้งหมดเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด และข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวกับสถานการณ์ยาเสพติด ในจังหวัดได้รับการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันอย่างครบถ้วน ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 3.2 ระดับความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด • เงื่อนไข: • ข้อมูลที่จังหวัดต้องนำเข้าในระบบของสำนักงาน ป.ป.ส. ประกอบด้วย • ข้อมูลการสำรวจเพื่อจำแนกสถานะของหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติด • ข้อมูลผลการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลการสำรวจเพื่อจำแนกสถานะของหมู่บ้าน/ชุมชน ที่นำเข้าระบบฐานข้อมูลยาเสพติดของสำนักงาน ป.ป.ส. • ข้อมูลผลการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในเวทีประชุมโต๊ะข่าวประจำเดือน ที่สรุปลงในแบบรายงานสถานภาพเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด • ข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวกับสถานการณ์ยาเสพติดในจังหวัด ประกอบด้วย • พื้นที่ตามสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น ทั้งพื้นที่ผลิต พื้นที่นำเข้า/ส่งออก พื้นที่ค้าและพื้นที่แพร่ระบาด รวมถึงลักษณะของกลุ่มบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ทั้งกลุ่มผู้เสพ กลุ่มผู้ค้ายาเสพติด และกลุ่มเสี่ยงต่าง ๆ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 3.2 ระดับความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด • เงื่อนไข: (ต่อ) • ตัวชี้วัดสำคัญเกี่ยวกับสถานการณ์ยาเสพติดในจังหวัดย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปีงบประมาณ (พ.ศ. 2551-2553) โดยเลือกจากรายการตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ให้ครบ 4 ด้าน อย่างน้อยด้านละ 1 ตัวชี้วัด • เอกสารรายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของจังหวัด ทั้งนี้ หากจังหวัดไม่สามารถนำเข้าข้อมูลตามข้อ 1. ในระบบของสำนักงาน ป.ป.ส. ผ่านเว็บไซต์ http://pnars.oncb.go.th ได้ครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ในเงื่อนไขจะพิจารณาปรับลดคะแนนลงประเด็นละ 0.2500 ส่วนการจัดทำข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับสถานการณ์ยาเสพติด หากมีเนื้อหาไม่ครบถ้วนตามที่ระบุไว้ในเงื่อนไขข้อ 2. จะปรับลดคะแนนลงไม่เกิน 0.5000
ประเด็นที่ จว. ต้องดำเนินการ 1.จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดปี 2553 - สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์และสรุปสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในจังหวัด - กำหนดตัวชี้วัดผลสำเร็จที่เป็นผลผลิต/ผลลัพธ์ที่วัดผลได้ชัดเจน เป็นรูปธรรม โดย ตั้งเป้าหมายให้ดีกว่าผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 และอย่างน้อยต้องระบุ ตัวชี้วัด “ร้อยละของหมู่บ้าน/ชุมชนในจังหวัดที่มีผู้เสพ/ผู้ติด/ผู้ค้ายาเสพติดต่อประชากร ไม่ เกิน 3 : 1,000 คน” 2. สรุปทบทวน สถานการณ์ปัญหายาเสพติดในจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 โดยระบุข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวกับสถานการณ์ยาเสพติดในจังหวัด ลงถึงระดับหมู่บ้าน/ชุมชนให้ครบถ้วน เพื่อใช้ประกอบการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของจังหวัด (จัดทำเป็นเอกสารประกอบ) • 3. ดำเนินการสำรวจเพื่อจำแนกสถานะของหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติด และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลการสำรวจเพื่อจำแนกสถานะของหมู่บ้าน/ชุมชน
ประเด็นที่ จว. ต้องดำเนินการ 4. จัดประชุมโต๊ะข่าว และสรุปสถานภาพการเฝ้าระวังฯ ที่ระบุถึงพื้นที่ที่มีปัญหายาเสพติด กลุ่มเป้าหมาย และตัวยาเสพติดที่ต้องเฝ้าระวัง ทุกเดือน (เอกสารสรุปรายงานการประชุมทุกครั้ง) 5. นำเข้าข้อมูลการสำรวจ การตรวจสอบ หมู่บ้าน/ชุมชน และผลสรุปเฝ้าระวังลงในระบบ ผ่านเวปไซด์ 6.ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยมอบหมายสถิติจังหวัดหรือสถาบันการศึกษาเป็นผู้ดำเนินการ (เอกสารประกอบ) 7.สรุปสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในปี 2553 เทียบปี 2552 โดยมี 7.1 พื้นที่ตามสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น ทั้งพื้นที่ผลิต พื้นที่นำเข้า/ส่งออก พื้นที่ค้าและพื้นที่ แพร่ระบาด รวมถึงลักษณะของกลุ่มบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ทั้งกลุ่มผู้เสพยาเสพติด กลุ่มผู้ค้ายาเสพติด และกลุ่มเสี่ยงต่าง ๆ 7.2 ตัวชี้วัดสำคัญเกี่ยวกับสถานการณ์ยาเสพติดในจังหวัดย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปีงบประมาณ (พ.ศ. 2551-2553) โดยเลือกจากรายการตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ให้ครบ 4 ด้าน อย่างน้อยด้านละ 1 ตัวชี้วัด (เอกสารประกอบ)
สรุปประเด็นที่เกี่ยวเนื่องต้องนำเข้าข้อมูลลงในระบบโปรแกรมผ่าน http://pnars.oncb.go.th • 1. ข้อมูลการสำรวจเพื่อจำแนกสถานะของหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติด • 2. ข้อมูลผลการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลการสำรวจเพื่อจำแนกสถานะของหมู่บ้าน/ชุมชน ที่นำเข้าระบบฐานข้อมูลยาเสพติดของสำนักงาน ป.ป.ส. • 3. ข้อมูลผลการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในเวทีประชุมโต๊ะข่าวประจำเดือน ที่สรุปลงในแบบรายงานสถานภาพเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด
1. การสำรวจและการตรวจสอบความถูกต้องของการสำรวจเพื่อจำแนกสถานะของหมู่บ้าน/ชุมชน ปี 2553
เป้าหมายใน KPI 1.รอบดำเนินการสำรวจและตรวจสอบฯ 1 ครั้ง ระหว่างเดือนมีนาคม-ตุลาคม 2.ครบถ้วนทุกหมู่บ้าน/ชุมชน ที่เป็นทางการทั้ง 76จังหวัด 3.บันทึกข้อมูลการสำรวจ ประมวลผลและรายงานผลการจำแนกผ่านระบบ Internet เป็นหลัก
ขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลและส่งแบบสำรวจขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลและส่งแบบสำรวจ ศตส.จ./กทม. (โดยฝ่ายอำนวยการ ศตส.จ./กทม.) จนท.บันทึกข้อมูล ศตส.อ./ศตส.กิ่ง อ./ศตส.เทศบาล/ศตส.เขต ใน กทม. ปลัดอำเภอ สำนักงานเขต นายกเทศมนตรี กองสวัสดิการและสังคม กำนัน พัฒนาสังคมเขต ผู้ใหญ่บ้าน ประธานชุมชน ประธานชุมชน ประชาคมหมู่บ้าน ประชาคมชุมชน ประชาคมชุมชน พื้นที่ชุมชน พื้นที่หมู่บ้าน พื้นที่ชุมชนใน กทม.
2. การประชุมโต๊ะข่าวประจำเดือนเพื่อสรุปสถานภาพการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดปี 2553
โครงสร้างกลไกเฝ้าระวังยาเสพติดจังหวัดโครงสร้างกลไกเฝ้าระวังยาเสพติดจังหวัด ศตส.จ. คณะทำงานเฝ้าระวังยาเสพติดจังหวัด ฝ่ายอำนวยการ ศตส.จ. สาธารณสุข คุมประพฤติ สถานพินิจฯ ราชทัณฑ์ ฝ่ายปกครอง ตำรวจ ภาค ปชช. ระบบการแจ้ง ข้อมูลจากสาธารณะ ระบบข้อมูลจากแหล่ง ข้อมูลของหน่วยงาน แหล่งข้อมูลจาก แกนนำชุมชน การประมวล/ชี้ปัญหาของจังหวัด (พื้นที่/บุคคล) จังหวัด/อำเภอ แก้ไขปัญหาตามที่ปรากฏ OR
แนวทางการรวบรวม/วิเคราะห์แนวทางการรวบรวม/วิเคราะห์ ศตส.จ. ป.ป.ส.ภาค คณะทำงานเฝ้าระวังจังหวัด สนับสนุนการ ประมวลผล โดย Computer การรวบรวม/วิเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูล ตามแนวที่กำหนด (แต่ละหน่วย) ประมวล/รวบรวมผล ตามแนวที่กำหนด (แต่ละหน่วย) ร่วมวิเคราะห์ สนับสนุนข้อมูลเพิ่มเติม ประชุมโต๊ะข่าวประจำเดือน พท.ปัญหาในห้วงเดือน บุคคลที่มีพฤติการณ์ แผนประทุษกรรมค้า/เสพ ตัว ยสต. รายงานในห้วงเดือน Output